240 likes | 409 Views
หลักการและเหตุผล การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ( PMQA: Public Sector Management Quality Award ). เป้าหมายของ PMQA. เพื่อยกระดับคุณภาพการทำงาน ของหน่วยงานภาครัฐ ไปสู่มาตรฐานระดับสากล. การปรับปรุงการทำงานอย่างต่อเนื่อง. เน้น. วัตถุประสงค์ การพัฒนา คุณภา พการบริหารจัดกา ร ภาครั ฐ.
E N D
หลักการและเหตุผล การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ( PMQA: Public Sector Management Quality Award )
เป้าหมายของ PMQA เพื่อยกระดับคุณภาพการทำงานของหน่วยงานภาครัฐ ไปสู่มาตรฐานระดับสากล การปรับปรุงการทำงานอย่างต่อเนื่อง เน้น
วัตถุประสงค์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐวัตถุประสงค์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของภาครัฐให้สอดคล้องกับ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วย • หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 • เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการของหน่วยงานสู่ระดับมาตรฐานสากล • เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมินตนเอง และเป็นบรรทัดฐาน • การติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐ
ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการ กับ เกณฑ์คุณภาพ PMQA การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เป้าหมาย วิธีการ ผล พรฎ. การจัดการบ้านเมืองที่ดี ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ ผลลัพธ์ 1.เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน 2.เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3.ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4.ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.ปรับปรุงภารกิจของ ส่วนราชการ 6.อำนวยความสะดวก ให้กับประชาชน 7.ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล ประสิทธิผล การนำ องค์กร คุณภาพ การจัดการ กระบวนการ ประสิทธิภาพ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ พัฒนาองค์กร องค์กรพัฒนา
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ( PMQA ) P.ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ความเชื่อมโยงของระบบจัดการเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ คำรับรองการปฏิบัติราชการ หลักการเศรษฐกิจพอเพียง ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หลัก 4 ป. แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) พัฒนาองค์กร Capacity Building คุณภาพ Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) แผนแม่บททรัพยากร บุคคล 3-5 ปี (Competency) ระบบควบคุมภายใน การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน Blueprint for Change Redesign Process Knowledge Management MIS e-government
แนวทางที่ใช้ในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐแนวทางที่ใช้ในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประเมินองค์กร • เพื่อทราบสถานะขององค์กร • จุดแข็ง • โอกาสในการปรับปรุง (จุดอ่อน) ปรับปรุงองค์กร
ตารางรายงานสรุป ระดับหมวด (แบบฟอร์ม 4) หมวด : ………………………………… อ้างอิง จุดแข็ง โอกาสในการปรับปรุง อ้างอิง
การจัดลำดับความสำคัญตามน้ำหนักของ OFI คะแนน รวม ความถี่ ของปัญหา โอกาสของความสำเร็จ ความรุนแรงของปัญหา OFI 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 OFI 1 / / / 6 OFI2 / / / 7 OFI3 / / / 10 OFI4 / / / 9
ตารางการจัดลำดับความสำคัญตารางการจัดลำดับความสำคัญ ระดับผลกระทบ น้อย มาก ปรับปรุงง่าย ผลกระทบน้อย ปรับปรุงง่าย ผลกระทบมาก ง่าย ความยากง่ายของการปรับปรุง ปรับปรุงยาก ผลกระทบน้อย ปรับปรุงยาก ผลกระทบมาก ยาก
สินค้าของกรมการขนส่งทางบกสินค้าของกรมการขนส่งทางบก หน่วยงานภาครัฐด้านการขนส่ง /ผู้ประกอบการ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ผู้ประกอบการ/ ประชาชน 2. พัฒนาและบังคับใช้กฎหมาย กฎหมาย วิจัยและพัฒนา 3. กำกับมาตรฐานการขนส่ง การอนูญาตประกอบการการขนส่ง/จัดตั้งสถานี ผู้ประกอบการ การสอนขับรถ/การอนุญาตขับรถ/การให้ความเห็นชอบแบบรถ 4. กำกับมาตรฐานความปลอดภัย ผู้เรียน / ผู้ขอรับ
สินค้าของกรมการขนส่งทางบกสินค้าของกรมการขนส่งทางบก เจ้าของรถ/ผู้ประกอบการ บริการด้านทะเบียนและภาษีรถ ผู้ประกอบการ/ ผู้ประจำรถ/ประชาชน 6. ถ่ายทอดความรู้ การให้ความรู้ ด้านการขนส่ง 5. กำกับมาตรฐานบริการ 7. การตรวจสภาพรถ เจ้าของรถ/ผู้ประกอบการ ตรวจสภาพรถ บริหารและพัฒนาบุคลากร/การคลัง/ธุรการ/อาคารสถานที่/ยานพาหนะ/ประชาสัมพันธ์(สนับสนุน) แผนพัฒนา แผนประชาสัมพันธ์ ข้าราชการ/พนักงานราชการ/ลูกจ้าง
กรอบแนวทางในการประเมินองค์กรกรอบแนวทางในการประเมินองค์กร 4. Integration I Act 1. Approach A 3. Learning L Result Check Plan 2. Deployment D Do
มิติในการประเมินองค์กรมิติในการประเมินองค์กร มีการตั้งเป้าหมาย / วางแผน มีแผนประเมิน / มีตัวชี้วัด • มีการปฏิบัติตามแผน • มีบุคลากรที่รับผิดชอบ • มีความมุ่งมั่นของบุคลากร 2. มีการปฏิบัติ ( Deployment = D ) มีแนวทาง ( Approch = A ) • มีการติดตามประเมินผล • มีการสรุปบทเรียน เพื่อสร้างนวัตกรรม • มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การปรับปรุง 3. มีการเรียนรู้ ( Learning = L ) มีความสอดคล้องของระบบตัววัด / การประเมิน / การปรับปรุง มีแนวทางมุ่งสู่ผลสำเร็จตามยุทธศาสตร์ 4. มีการบูรณาการ ( Integration = I )
แนวทางการให้คะแนน หมวด 1-6 คำถามประเภท HOW
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ 7.3 มิติ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.1 มิติ ด้านประสิทธิผล 7.2 มิติ ด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.4 มิติ ด้านการพัฒนา องค์กร (76)1 ผลการบรรลุความสำเร็จตามยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ (81)6 ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า (82)7 ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน (83)8 ผลการดำเนินงานด้านงบประมาณและการเงิน (84)9 ผลด้านความรับผิดชอบด้านการเงินทั้งภายในและภายนอก (85)10 ผลด้านการปฏิบัติตามกฏ ระเบียบ ข้อบังคับ กฏหมาย (86)11 ผลด้านการเป็นองค์กรที่ดีในการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ (87)12 ผลด้านระบบบริหารงานบุคคล (88)13 ผลด้านการเรียนรู้และพัฒนาของบุคลากร (89)14 ผลด้านความผาสุก ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของบุคลากร (90)15 ผลด้าน พฤติกรรมที่มีจริยธรรม ความไว้วางใจที่มีต่อผู้นำ การกำกับดูแลตัวเองที่ดีพฤติกรรมที่ฝ่าฝืนจริยธรรม (77)2 ผลของวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (78)3 ผลของตัวชี้วัดด้านคุณค่าจากมุมมองของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงการกล่าวถึงองค์กรในทางที่ดี และ การสร้างความสัมพันธ์ (79)4 ผลการดำเนินการด้านขอบเขต ขนาด และประเภทการให้บริการที่เพิ่มขึ้น (*) (80)5 ผลการดำเนินการที่สำคัญอื่นที่เกี่ยวข้องกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การประเมิน หมวด 7LeTCLi Level Le Goal Linkage Li KRA KPI Trend T Trend Key Measure Compare C Benchmark
แนวทางการให้คะแนน หมวด 7
ข้อแนะนำในการประเมินตนเองในหมวด 7 ก่อนการประเมินตนเองส่วนราชการต้องกรอกข้อมูลตามตัวชี้วัด ในแต่ละข้อลงในแบบฟอร์มข้างล่างนี้ แล้วจึงประเมินระดับคะแนน LeTCLi ในแต่ละข้อ ความ ครอบคลุม เชื่อมโยง ของตัวชี้วัด
กราฟแสดงผลคะแนนระดับ หัวข้อ 17 หัวข้อ (แบบฟอร์ม 3) คะแนน หัวข้อ
ประโยชน์ต่อส่วนราชการประโยชน์ต่อส่วนราชการ • มีการแบ่งปันวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice Sharing) • สามารถสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้นในระบบราชการ • ทราบจุดแข็ง และโอกาสในการปรับปรุงองค์กร • สามารถสร้างแผนปรับปรุงองค์กร • สามารถยกระดับคุณภาพขององค์กร • สามารถพัฒนาองค์กรได้อย่างต่อเนื่อง
ขอบเขตการดำเนินการ : ครอบคลุมทุกหน่วยงานใน ส่วนราชการ กรมการขนส่งทางบก ผู้ตรวจราชการกรม ส่วนภูมิภาค ส่วนกลาง สำนักงาน ขนส่งจังหวัด • งานบริหารทั่วไป • ฝ่ายวิชาการขนส่ง • ฝ่ายทะเบียนรถ • ฝ่ายใบอนุญาตขับรถ • สถานีขนส่งผู้โดยสาร • สำนักงานขนส่งจังหวัดสาขา