290 likes | 406 Views
แนวคิดและทิศทางการปฏิรูปและ การประเมินคุณภาพภายนอก. โดย ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.สมหวัง พิธิ ยา นุวัฒน์ ผู้อำนวยการ สมศ. แนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ประเด็นที่ 1 : ประเมินแบบอิงเกณฑ์ตามจุดเน้นของสถานศึกษา เช่น สถานศึกษาทั่วไป
E N D
แนวคิดและทิศทางการปฏิรูปและการประเมินคุณภาพภายนอกแนวคิดและทิศทางการปฏิรูปและการประเมินคุณภาพภายนอก โดย ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ผู้อำนวยการ สมศ.
แนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอกแนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประเด็นที่ 1: ประเมินแบบอิงเกณฑ์ตามจุดเน้นของสถานศึกษา เช่น สถานศึกษาทั่วไป สถานศึกษาที่มีวัตถุประสงค์พิเศษ
ประเด็นที่ 2 ให้ประเมินคุณภาพภายนอกจากผลการจัดการศึกษาเป็นหลักตามมาตรา 51 (Outcome Mapping) โดยให้น้ำหนักร้อยละ 75 ใช้ข้อมูลเฉลี่ยย้อนหลัง 3 ปี
ประเด็นที่ 3 ให้ประเมินโดยวิธีการและข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานประเมินโดยผู้ประเมินของบริษัทประเมิน
ประเด็นที่ 4 ให้ประเมินโดยการยืนยัน SAR(ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้) เพื่อกระตุ้นให้ IQA มีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น ที่ประชุมเห็นด้วย ควรให้โรงเรียนประเมินคุณภาพและรับรองตนเอง ก่อนได้รับการประเมินจาก สมศ.
ประเด็นที่ 5 ในเชิงกระบวนการ (ร้อยละ 25) ให้ความสำคัญกับคุณภาพครูและคณาจารย์ คุณภาพและความพร้อมของผู้เรียน การสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ การบริหารจัดการแบบ SBM และการประกันคุณภาพภายใน
ประเด็นที่ 6 ลดจำนวนตัวบ่งชี้และจำนวนมาตรฐานสำหรับการประเมินคุณภาพ ภายนอก โดยถ่ายโอนตัวบ่งชี้และมาตรฐานเกี่ยวกับปัจจัยนำเข้าและ กระบวนการให้อยู่ในระบบประกันคุณภาพภายใน ความเห็นที่ประชุม - การประเมินอิงสถานศึกษา ให้อยู่ในส่วนของระบบการประกันคุณภาพภายใน - ควรมีการบูรณาการระหว่างมาตรฐานการประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอก
ประเด็นที่ 7 ประเด็นอื่น ๆ - การกำหนดมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การพิจารณา ให้พิจารณาเชื่อมโยงกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติที่กำหนดไว้ว่าด้านครู ด้านผู้บริหาร และด้านการจัดการเรียนการสอน - ควรนำจรรยาบรรณของครู ผู้บริหาร และหลักธรรมาภิบาลมาประกอบในการจัดทำมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การพิจารณาด้วย • ความชัดเจนในการสร้างเครื่องมือเพื่อประเมินคุณลักษณะผู้เรียน • เช่น ความดี ความสุข เป็นต้น และควรเพิ่มเรื่องความรักชาติ • และจิตสาธารณะด้วย - การกำหนดมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ ควรคำนึงถึงหลักสูตรใหม่ด้วย
แนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอกในอนาคตแนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอกในอนาคต กรอบการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษารอบที่ 3 : สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายนอก การศึกษาปฐมวัย 14 มาตรฐาน 50 ตัวบ่งชี้ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 14 มาตรฐาน 60 ตัวบ่งชี้
แนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอกแนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอก การอาชีวศึกษา
ประเด็นที่ 1: ประเมินแบบอิงเกณฑ์ตามจุดเน้นของสถานศึกษา
ประเด็นที่ 2 ให้ประเมินคุณภาพภายนอกจากผลการจัดการศึกษาเป็นหลักตามมาตรา 51 (Outcome Mapping) โดยให้น้ำหนักร้อยละ 75 ใช้ข้อมูลเฉลี่ยย้อนหลัง 3 ปี
ประเด็นที่ 3 ให้ประเมินโดยวิธีการและข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ประเมินโดยพิชญ์พิจารณ์(peer review) ความเห็นที่ประชุม ตัวบ่งชี้ในการประเมินรอบสามขอให้มีความชัดเจน มีคำชี้แจง และเป็นปรนัยให้มากที่สุด การใช้ดุลพินิจของผู้ประเมินเพียง อย่างเดียว จะเกิดปัญหาได้
ประเด็นที่ 4 ให้ประเมินโดยการยืนยัน SAR(ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้) เพื่อกระตุ้นให้ IQA มีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น ความเห็นที่ประชุม เราต้องเชื่อมั่นในเรื่องการกระจายอำนาจ และเชื่อมั่นใน sar ที่สถานศึกษาจัดทำ สมศ. ต้องเป็นตัวกระตุ้น และช่วยในการให้คำแนะนำ เพื่อให้สถานศึกษาทำเองได้ แต่ให้แนวปฏิบัติที่ชัดเจน
ประเด็นที่ 5 ในเชิงกระบวนการ (ร้อยละ 25) ให้ความสำคัญกับคุณภาพครูและคณาจารย์ คุณภาพและความพร้อมของผู้เรียน การสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ การบริหารจัดการแบบ SBM และการประกันคุณภาพภายใน
ประเด็นที่ 6 ลดจำนวนตัวบ่งชี้และจำนวนมาตรฐานสำหรับการประเมินคุณภาพ ภายนอก โดยถ่ายโอนตัวบ่งชี้และมาตรฐานเกี่ยวกับปัจจัยนำเข้าและ กระบวนการให้อยู่ในระบบประกันคุณภาพภายใน ที่ประชุมเห็นด้วยประเด็นนี้ และควรปรับตัวบ่งชี้ที่ สามารถเทียบเคียงกับคำที่ใช้ประเมิน เช่น นวัตกรรม เป็นงานสร้างสรรค์ของผู้เรียน เป็นต้น
แนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอกในอนาคตแนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอกในอนาคต กรอบการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษารอบที่ 3 : สถานศึกษาอาชีวศึกษา มาตรฐานการอาชีวศึกษา ภายนอก 6 มาตรฐาน 25 ตัวบ่งชี้
แนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอกแนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา
6.แนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอก6.แนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอก 6.1) ประเมินแบบอิงเกณฑ์ตามจุดเน้นของสถานศึกษา เช่น ในระดับอุดมศึกษา ประเมินตามจุดเน้นของกลุ่มสถาบัน โดยปรับกลุ่มสถาบันให้สอดคล้องกับ สกอ. กลุ่ม ก. วิทยาลัยชุมชน ความเห็นที่ประชุม ที่ประชุมขอคำนิยามของแต่ละกลุ่มสถาบันที่ชัดเจน กลุ่ม ข. สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรี ข. (1) สถาบันจำกัดรับที่เน้นปริญญาตรี ข. (2) สถาบันที่จำกัดที่เน้นปริญญาตรีและเน้นพัฒนาสังคม ข. (3) สถาบันที่ไม่จำกัดรับที่เน้นระดับปริญญาตรี กลุ่ม ค. สถาบันเฉพาะทาง ค. (1) สถาบันที่เน้นระดับบัณฑิตศึกษา ค. (2) สถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี กลุ่ม ง. สถาบันที่เน้นการวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิต ระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริญญาเอก
โดยกลุ่ม ง สถาบันที่เน้นการวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิต ระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริญญาเอก เสนอกลุ่มย่อยเป็น ง(1) เน้นวิจัยและบัณฑิตศึกษา ง(2)เน้นบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาเอก -ให้สถาบันสามารถเพิ่มตัวบ่งชี้ที่เป็นอัตลักษณ์ของสถาบันและให้มีการประเมินด้วย - มรภ.ทั้งหมดจำเป็นต้องอยู่กลุ่มสถาบันเดียวกันหรือไม่
ประเด็นที่ 2 ให้ประเมินคุณภาพภายนอกจากผลการจัดการศึกษาเป็นหลักตามมาตรา 51 (Outcome Mapping) โดยให้น้ำหนักร้อยละ 75 ใช้ข้อมูลเฉลี่ยย้อนหลัง 3 ปี
ประเด็นที่ 3 ให้ประเมินโดยวิธีการและข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ประเมินโดยพิชญ์พิจารณ์(peer review) ความเห็นที่ประชุม ผู้ประเมินควรมีเทคนิคการประเมินที่หลากหลายโดยเฉพาะการประเมินกลุ่มสาขาวิชาที่มีความเฉพาะ เช่น แพทย์แผนไทย
ประเด็นที่ 4 ให้ประเมินโดยการยืนยัน SAR(ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้) เพื่อกระตุ้นให้ IQA มีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น ความเห็นที่ประชุม เห็นด้วย และให้สถาบันเสนอตัวบ่งชี้ที่เป็นอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย และให้ สมศ. ประเมินด้วย
ประเด็นที่ 5 ในเชิงกระบวนการ (ร้อยละ 25) ให้ความสำคัญกับคุณภาพครูและคณาจารย์ คุณภาพและความพร้อมของผู้เรียน การสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ การบริหารจัดการแบบ SBM และการประกันคุณภาพภายใน ความเห็นที่ประชุม • การบริหารจัดการและการเรียนการสอน ควรเพิ่มเป็นร้อยละ ๓๕ เนื่องจาก เป็นกระบวนการสำคัญที่ทำให้ผลผลิตของมหาวิทยาลัยมีคุณภาพ • ควรประเมินผู้บริหารสถาบันและผู้บริหารต้นสังกัดด้วย
ประเด็นที่ 6 ลดจำนวนตัวบ่งชี้และจำนวนมาตรฐานสำหรับการประเมินคุณภาพ ภายนอก โดยถ่ายโอนตัวบ่งชี้และมาตรฐานเกี่ยวกับปัจจัยนำเข้าและ กระบวนการให้อยู่ในระบบประกันคุณภาพภายใน ที่ประชุมเห็นด้วยและควรลดตัวบ่งชี้ digit ซึ่งทำให้มหาวิทยาลัยขาดอิสระในการดำเนินการ
ประเด็นที่ 7 ประเด็นอื่น ๆ -ตัวบ่งชี้เกี่ยวกับฐานะการเงิน ควรวัดงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรและอาจต้องนิยามคำว่า “งบลงทุนและงบดำเนินการ” ใหม่ โดยงบลงทุนให้รวมการลงทุนกับบุคลากรทั้งหมด - มาตรฐานและตัวบ่งชี้การวิจัยควรใช้เกณฑ์มาตรฐานสากล • กำหนดตัวบ่งชี้เรื่องสุขภาพให้สอดคล้องกับมาตรฐานชาติ • กำหนดตัวบ่งชี้เรื่องการจัดอันดับสถาบันของนานาชาติเป็น • การวัดสถาบันสู่สากล -วิทยาเขตควรสามารถเลือกจุดเน้นที่แตกต่างกันได้
ประเด็นที่ 7 ประเด็นอื่น ๆ - วิธีการวัดข้อมูลบางตัวของสถานศึกษา เช่น การวัด output outcome ให้ออกแบบการสุ่มและการวัดให้น่าเชื่อถือ โดย สมศ. - Database ที่ช่วยเป็น Tool ในการประเมิน ควรจะจัดให้เป็นตัวบ่งชี้ในการประเมินด้ว
แนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอกในอนาคตแนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอกในอนาคต กรอบการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษารอบที่ 3 : สถาบันอุดมศึกษา มาตรฐานการอุดมศึกษา ภายนอก 7 มาตรฐาน 39 + 9* ตัวบ่งชี้