200 likes | 405 Views
โรงพยาบาลสงขลา. ข้อมูลทั่วไป. โรงพยาบาลทุติยภูมิระดับสูง (2.3). เป็นโรงพยาบาลทุติยภูมิระดับสูง 480 เตียง. เครือข่ายสุขภาพของโรงพยาบาลสงขลา. อำเภอระโนด อำเภอกระแสสินธุ์ อำเภอสทิงพระ อำเภอสิงหนคร อำเภอเมืองสงขลา อำเภอจะนะ. ประชากรในเขตรับผิดชอบตาม GIS. (เดือน มกราคม 2549).
E N D
โรงพยาบาลทุติยภูมิระดับสูง (2.3) เป็นโรงพยาบาลทุติยภูมิระดับสูง 480 เตียง
เครือข่ายสุขภาพของโรงพยาบาลสงขลาเครือข่ายสุขภาพของโรงพยาบาลสงขลา • อำเภอระโนด • อำเภอกระแสสินธุ์ • อำเภอสทิงพระ • อำเภอสิงหนคร • อำเภอเมืองสงขลา • อำเภอจะนะ
ประชากรในเขตรับผิดชอบตาม GIS (เดือน มกราคม 2549) รวมประชากรทั้งหมด 481,298 คน แบ่งเป็น • ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ 42,449/25,463 คน • บัตรทอง 365,572/141,170 คน • ประกันสังคม 64,069/43,035 คน • อื่นๆ 3,485 คน ที่มา: http://www.skho.moph.go.th/uc.Report.Right/main.asp
บริการ ด้านปฐมภูมิ
บริการด้านปฐมภูมิ • สถานีอนามัย จำนวน 16 แห่ง • ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาล จำนวน 2 แห่ง • ศูนย์สุขภาพชุมชน จำนวน 1 แห่ง • หน่วยปฐมภูมิในโรงพยาบาล จำนวน 1 แห่ง
สถิติผู้ป่วยนอก ปีงบประมาณ 2548 ผู้มารับบริการคิดเป็นร้อยละ 23 ของประชากรทั้งหมด เฉลี่ย : ประชากรทั้งหมดมาใช้บริการ : 1 ครั้ง : คน : ปี เฉลี่ยผู้ป่วยมาใช้บริการ 4 ครั้ง : คน
1. โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน จำนวน 10,091 ครั้ง 2. โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 9,743 ครั้ง 3. โรคเบาหวาน จำนวน 7,363 ครั้ง 4. โรคในช่องปาก โรคของต่อมน้ำลายและขากรรไกร 5. โรคเรื้อรังของทางเดินหายใจส่วนล่าง จำนวน 4,685 ครั้ง จำนวน 5,649 ครั้ง 5 อันดับโรคของผู้ป่วยนอก ปีงบประมาณ 2548
5 อันดับโรคผู้ป่วยตามสิทธิ์บัตรทอง 1. โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน จำนวน 10,724 ครั้ง 2. โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 8,996 ครั้ง 3. โรคเบาหวาน จำนวน 7,855 ครั้ง 4. โรคในช่องปาก จำนวน 6,294 ครั้ง 5. โรคเรื้อรังของทางเดินหายใจส่วนล่าง จำนวน 5,942 ครั้ง
ผู้ป่วยนอกเปรียบเทียบสิทธิการรักษาผู้ป่วยนอกเปรียบเทียบสิทธิการรักษา
โครงการ “บริการฉับไว ไร้ความแออัด”
โครงการ “บริการฉับไว ไร้ความแออัด” โรงพยาบาลสงขลา ปัจจุบันมีผู้รับบริการเฉลี่ยวันละ 1,100 คน ระยะเวลาการรอคอยเฉลี่ย 1 ชั่วโมง 47 นาที ช่วงเวลาที่มีผู้รับบริการแออัดที่สุด คือ ช่วงเวลา 09.00 – 11.00 น.
โครงการ “บริการฉับไว ไร้ความแออัด” โรงพยาบาลสงขลา พื้นที่บริการทั้งหมด 1,700 ตารางเมตร มีที่นั่งพักคอยอยู่ 487 ที่นั่ง มีผู้ยืนคอยประมาณ 22 คน รถนั่ง 11 คัน เปลนอน 2 เตียง โดยบริเวณที่แออัดที่สุด หน้าห้องตรวจอายุรกรรม หน้าห้องตรวจศัลยกรรม
แผนผัง OPD โรงพยาบาลสงขลา
โครงการ “บริการฉับไว ไร้ความแออัด” มิติที่เกี่ยวข้อง มี 4 มิติ คือ 1. จำนวน (ผู้รับบริการ) 2. ระยะเวลา 3. ระบบ 4. พื้นที่
มิติที่เกี่ยวข้อง 4 มิติ