1.07k likes | 1.76k Views
การอบรมเชิงปฏิบัติการ : การเตรียมความพร้อมครู การจัดการเรียนรู้ “เพศศึกษารอบด้าน” ระบบการเรียนรู้ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และระบบกิจกรรม. วันที่ ๑ – ๔ เมษายน ๒๕๕๕ ณ โรงแรมเอส ดี อเวนิว กทม. ทบทวนวันวาน. ดูหนังม่านรูด Recap ทบทวนวันวาน ใครเอ่ย หนังทางเลือก 1 ย้อนรอยวัยรุ่น
E N D
การอบรมเชิงปฏิบัติการ : การเตรียมความพร้อมครูการจัดการเรียนรู้ “เพศศึกษารอบด้าน”ระบบการเรียนรู้ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และระบบกิจกรรม วันที่ ๑ – ๔ เมษายน ๒๕๕๕ ณ โรงแรมเอส ดี อเวนิว กทม.
ทบทวนวันวาน • ดูหนังม่านรูด • Recap ทบทวนวันวาน • ใครเอ่ย • หนังทางเลือก1 ย้อนรอยวัยรุ่น • เลือกข้าง หนังทางเลือก 2 • ธัญกับออย หนังทางเลือก 3 • เสนอแผนที่ศึกษา + แบ่งกลุ่มวิเคราะห์แผน จากกิจกรรมทั้งหมดได้เรียนรู้อะไร
สิ่งที่ได้เรียนรู้ • ทัศนะเรื่องถุงยาง (หนังม่านรูด) • ความเชื่อและข้อเท็จจริงเรื่องเพศ (ใครเอ่ย) • พฤติกรรมวัยรุ่นทุกสมัยเหมือนกันสิ่งที่เปลี่ยนคือสิ่งแวดล้อม (ย้อนรอย) • การให้คุณค่าหญิง/ชายไม่เท่ากัน (เลือกข้าง) • เข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล และอยู่ร่วมกันได้ (เลือกข้าง) • การตัดสินใจ+การแก้ปัญหา ของบุคคล ระหว่างเด็ก/ผู้ใหญ่ (ธัญกับออย) • การจัดการเรียนการสอนตามแผน การนำไปใช้ (ศึกษาแผน)
กระบวนการเรียนรู้ กรอบแนวคิดในการเตรียมความพร้อมผู้จัดการเรียนรู้เพศศึกษา เยาวชน บริบททางสังคมวัฒนธรรม แนวคิดหลักเพศศึกษา ๖ ด้าน*: ๑. พัฒนาการของมนุษย์ (Human Development) ๒. สัมพันธภาพ (Relationship) ๓. ทักษะส่วนบุคคล (Personal Skills) ๔. พฤติกรรมทางเพศ (Sexual Behavior) ๕. สุขภาพทางเพศ (Sexual Health) ๖. สังคมและวัฒนธรรม (Social and Culture) เพศวิถีSexuality แนวทางการให้การศึกษาเรื่อง “ชีวิตและครอบครัวศึกษา” กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๓และ A Comprehensive Sexuality Education, SIECUS, National Guidelines Task Force
โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV คือ = มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกันกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งดูไม่ออก
What is HIV? HIV = HUMAN IMMUNODEFICIENCY VIRUS THE CAUSE OF………
วัตถุประสงค์ • เข้าใจเรื่องการแพร่ระบาดของเชื้อเอชไอวีทางเพศสัมพันธ์ • ให้สามารถประเมินโอกาสเสี่ยงของตนเองต่อการติดเชื้อเอชไอวีในวิถีชีวิต • เห็นทางเลือกในการป้องกัน/ลดโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี
แลกน้ำ • สารตั้งต้น = สารโซเดียมไฮดรอกไซด์ • สารทดสอบ = ฟินอฟทาลีน
Apply วางแผนประยุกต์ใช้ Reflect สะท้อน/สรุปสิ่งที่เรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ (Experiential Learning) Do มี/ผ่านประสบการณ์ เติมข้อมูลใหม่ เติมข้อมูลใหม่ Analyze/Synthesis คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์ เชื่อมร้อยกับประสบการณ์เดิม หรือการจัด “ประสบการณ์จำลอง” ในการเรียนรู้
“แลกน้ำ” • เป็นตัวอย่างของการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อสร้างความตระหนัก • โดยจัดสถานการณ์จำลอง หรือประสบการณ์จำลองให้ผู้เข้าอบรมมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ • และเชื่อมโยงสิ่งที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมการเรียนรู้ไปเทียบเคียงกับสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในชีวิตจริงของผู้เข้าอบรม
คนคิดว่า เพศสัมพันธ์ของตัวเองไม่เกี่ยวกับเอดส์ (ไกลตัว) ภาพในใจ/การรับรู้เรื่องเอดส์ ในสังคมโดยทั่วไป “คนที่มีเชื้อ”v.s. “ผู้ป่วยเอดส์” “กลุ่มเสี่ยง” ไม่ใช่ “เรา” คนประเมินความเสี่ยงพลาด จะไม่นำไปสู่การป้องกัน การรณรงค์ที่ผ่านมาทำให้คนเข้าใจผิด “สำส่อน/มั่วทางเพศ ติดเอดส์แน่นอน” “รักเดียวใจเดียว ปลอดภัยจากเอดส์” “ตรวจเลือดก่อนแต่ง เพื่อความมั่นใจ (ว่าจะไม่ติดเชื้อ)” โจทย์กิจกรรม “แลกน้ำ”
ขั้นตอนสำคัญ • แจกน้ำ – ให้สังเกตน้ำว่า เหมือนต่างจากแก้วเพื่อน ? (เพื่อเชื่อมโยงให้เห็น น้ำใสๆ = การมีเชื้อ HIV) • เก็บน้ำตัวอย่าง (เพื่อพิสูจน์ให้เห็นเริ่มต้น มีแก้วที่มีเชื้อกี่ใบ) • แบ่งกลุ่ม : กลุ่มอาสาสมัคร (แลก ๑ ครั้ง) และ กลุ่มใหญ่ (แลกหลายครั้ง) (เพื่อเปรียบเทียบ การมีเพศสัมพันธ์ครั้งเดียว/คนเดียว กับ หลายครั้ง/หลายคน) • ตรวจน้ำแต่ละแก้ว (เพื่อให้เห็นว่ามีการแพร่กระจายอย่างไร)
ถามเรื่องเกณฑ์การเลือกคู่ ? (เปรียบเทียบกับชีวิตจริง สวย หล่อ หน้าตาดี บุคลิก ) การคุยกับคู่ (เปรียบเทียบกับชีวิตจริง เสียเวลา อด เปรี้ยงกองกับพื้น) กลุ่มเสี่ยงละพฤติกรรมเสี่ยง (กลุ่มเสี่ยง = พฤติกรรมเสี่ยง) ขั้นตอนการคุย
แลกน้ำ • การแลกน้ำ = การมีเพศสัมพันธ์ • น้ำใสๆ = ติดเชื้อ HIVแต่ดูไม่ออก • กลุ่มใหญ่ แลก ๔-๕ ครั้ง = มีเพศสัมพันธ์หลายครั้ง, เปลี่ยนคู่หลายคน • อาสาสมัคร ๒ คน แลก ๑ ครั้ง = รักเดียวใจเดียว, มีครั้งแรกครั้งเดียว
อาสาสมัคร ๓ คน แลก ๑ ครั้ง เปลี่ยนสี = ๐ คน คนส่วนใหญ่ ๒๙ คน แลก ๓-๔ ครั้ง เปลี่ยนสี = ๘ คน ผลการตรวจเลือด เริ่มจากกี่แก้ว ? จึงแพร่ระบาดไป ๘ คน
อาสาสมัคร ๒ คน แลก ๑ ครั้ง เปลี่ยนสี = ๑ คน คนส่วนใหญ่ คน แลก ๔-๕ ครั้ง เปลี่ยนสี = ๙ คน ผลการตรวจเลือด • อาสาสมัคร ๓ คน • แลก ๑ ครั้ง • เปลี่ยนสี = ๒ คน • คนส่วนใหญ่ ๒๙ คน • แลก ๓-๔ ครั้ง • เปลี่ยนสี = ๘ คน จาก ๑ แพร่ระบาดไป ๘ คน
โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV คือมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกันกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งดูไม่ออก
x • คนขายบริการทางเพศ • คนเที่ยว • คนใช้ยาเสพติด • คนรักเพศเดียวกัน “พฤติกรรมเสี่ยง” (ไม่ว่าใครทำ) กลุ่มเสี่ยง = มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกันกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งดูไม่ออก
การป้องกัน ในกรณีมีเพศสัมพันธ์ • รักเดียวใจเดียว • เลิกเที่ยว • ช่วยตัวเอง • ใส่ถุงยางทุกครั้ง • ไม่มีเพศสัมพันธ์เลย • ตรวจเลือดก่อนมีเพศสัมพันธ์ / แต่งงาน ?
ติดเชื้อ ป่วยเอดส์ ต่างจาก
ผู้ติดเชื้อเอชไอวีผู้ที่มีเชื้อเอชไอวีอยู่ในร่างกาย ระดับภูมิคุ้มกันปกติ ดำเนินชีวิตได้ตามปกติ ผู้ป่วยเอดส์ มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง มีโรคหรือกลุ่มอาการ ที่เกิดจากภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง
แลกน้ำ เครือข่าย การมีเพศสัมพันธ์
ผลเลือดบวก = ได้รับเชื้อเอชไอวี • ผลเลือดลบ = ๑. ยังไม่ได้รับเชื้อ • ๒. รับเชื้อแล้ว แต่ยังตรวจไม่พบ ตรวจเลือดเอชไอวี ๓ เดือน ตรวจเลือด ? ๑ เมษา วันที่มีพฤติกรรมเสี่ยง ๑ มกรา ๑๔ กุมภา ? ตรวจเลือด = ป้องกัน
การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี • ถุงยางอนามัย ทุกครั้งกับทุกคน • ไม่มีเพศสัมพันธ์ (ถ้าทำได้) • ตรวจเลือดก่อนแต่งงาน • ไม่สำส่อน • ช่วยตัวเอง
ถุงยางอนามัย ช่วยป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีได้ถ้าคุณใช้!!
อุปกรณ์คุมกำเนิดชนิดเดียว ที่ช่วยป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ถุงยาง ในมือผู้ชาย ถุงยาง ถุงยาง ในมือผู้หญิง การให้คุณค่า ความปลอดภัย ?
กิจกรรม: “ระดับความเสี่ยง QQR”
ระดับความเสี่ยง • เสี่ยงมากเป็นความเสี่ยงในระดับที่ทำให้มีโอกาสได้รับเชื้อสูงมากและคนส่วนใหญ่ได้รับเชื้อเอชไอวีจากความเสี่ยงนั้นๆ • เสี่ยงปานกลางมีความเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อเอชไอวีอยู่บ้าง แต่ไม่เท่าเสี่ยงมาก • เสี่ยงน้อยมากมีความเสี่ยงในเชิงทฤษฎี แต่ในทางเป็นจริง โอกาสและความเป็นไปได้ที่จะได้รับเชื้อเอชไอวีจากการกระทำนั้นๆ แทบไม่มีเลย และไม่ปรากฎหรือมีกรณีน้อยมากๆ ว่ามีคนได้รับเชื้อเอชไอวีจากช่องทางนั้นๆ • ไม่เสี่ยงเป็นการกระทำหรือช่องทางที่ไม่มีโอกาสเสี่ยงต่อการรับเชื้อเอชไอวีเลย
หลักการ QQR การที่คนๆ หนึ่งจะได้รับเชื้อHIV เข้าสู่ร่างกายจะต้องประกอบด้วย ๓ ปัจจัย ดังนี้ • ปริมาณของเชื้อ (Quantity) • คุณภาพของเชื้อ (Quality) • ช่องทางการติดต่อ (Route of Transmission)
Quantity - ปริมาณและแหล่งที่อยู่ของเชื้อ • เชื้อ HIV อยู่ในคนเท่านั้น (เกาะอยู่กับเม็ดเลือดขาว) • เชื้อ HIV อยู่ในสารคัดหลั่งบางอย่างในร่างกายของคนที่มีเชื้อ HIV เช่น เลือด น้ำอสุจิ น้ำในช่องคลอด น้ำนมแม่ ซึ่งมีปริมาณที่ไม่เท่ากัน • ต้องมีจำนวนเชื้อ HIV ในปริมาณที่มากพอในสารคัดหลั่งที่เป็นที่อยู่ของเชื้อ
Quality - คุณภาพของเชื้อ • เชื้อHIVต้องมี “คุณภาพพอ” • เชื้อ HIVไม่สามารถมีชีวิตอยู่นอกร่างกายคนได้ • สภาพในร่างกาย และสภาพแวดล้อม บางอย่างมีผลทำให้เชื้อไม่สามารถอยู่ได้ เช่น ด่างในน้ำลาย กระเพาะอาหาร สภาพอากาศ ความร้อน ความแห้ง น้ำยาต่างๆ
Route of transmissionช่องทางการติดต่อ • ไวรัส HIV จะต้องถูกส่งผ่านจากคนที่ติดเชื้อ ไปยังอีกคนหนึ่ง โดยเชื้อจะต้องตรงเข้าสู่กระแสเลือด • ทางเพศสัมพันธ์ • ทางเลือด(การใช้เข็มฉีดยาเสพติดร่วมกัน) • แม่สู่ลูก ช่องทางออก ช่องทางเข้า
หลักการ QQR การที่คนๆ หนึ่งจะได้รับเชื้อ HIV เข้าสู่ร่างกายจะต้องประกอบด้วย ๓ ปัจจัยดังนี้ คุณภาพของเชื้อ (Quality) ช่องทางการติดต่อ (Route of Transmission) ปริมาณของเชื้อ (Quantity) • เชื้อ HIV อยู่ในคนเท่านั้น (เกาะอยู่กับเม็ดเลือดขาว) • เชื้อ HIV อยู่ในสารคัดหลั่งบางอย่างในร่างกายของคนที่มีเชื้อ HIV เช่น เลือด น้ำอสุจิ น้ำในช่องคลอด น้ำนมแม่ ซึ่งมีปริมาณที่ไม่เท่ากัน • ต้องมีจำนวนเชื้อ HIV ในปริมาณที่มากพอในสารคัดหลั่งที่เป็นที่อยู่ของเชื้อ • เชื้อ HIV ต้องมี คุณภาพพอ • เชื้อ HIV ไม่สามารถมีชีวิตอยู่นอกร่างกายคนได้ • สภาพในร่างกาย และสภาพแวดล้อม บางอย่างมีผลทำให้เชื้อไม่สามารถอยู่ได้ เช่น ด่างในน้ำลาย กรดในกระเพาะอาหาร สภาพอากาศ ความร้อน ความแห้ง น้ำยาต่างๆ • ไวรัส HIV จะต้องถูกส่งผ่านจากคนที่ติดเชื้อ ไปยังอีกคนหนึ่ง โดยเชื้อจะต้องตรงเข้าสู่กระแสเลือด • เลือด • เพศสัมพันธ์ • แม่สู่ลูก โอกาส/ความเป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้น
“โจทย์” ระดับความเสี่ยง“โจทย์” ระดับความเสี่ยง • การให้ข้อมูลเรื่องเอดส์ที่ผ่านมาไม่ชัดเจน/สับสน • “โอกาสเสี่ยง” กับ “การติดเชื้อ” ต่างกัน • คนคิดว่าเชื้อ HIVติดต่อง่าย • รังเกียจผู้ติดเชื้อ • แต่ไม่กังวลการติดเชื้อ จากโอกาสที่ทำให้เสี่ยงมาก
วัตถุประสงค์ • สามารถระบุปัจจัยที่ส่งผลต่อการติดเชื้อ และไม่ติดเชื้อเอชไอวี • สามารถใช้หลักการ QQR ในการประเมินระดับความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีได้ • มีความมั่นใจมากขึ้นในการอยู่ร่วมกับผู้ติดเชื้อ
Apply วางแผนประยุกต์ใช้ Reflect สะท้อน/สรุปสิ่งที่เรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ (Experiential Learning) Do มี/ผ่านประสบการณ์ เติมข้อมูลใหม่ เติมข้อมูลใหม่ Analyze/Synthesis คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์ เชื่อมร้อยกับประสบการณ์เดิม หรือการจัด “ประสบการณ์จำลอง” ในการเรียนรู้
ผู้หญิง เกิดการติดเชื้อบริเวณช่องคลอด น้ำอสุจิ หลั่งอยู่ในช่องคลอด ผู้ชาย เชื้อเข้าทางรูฉี่ สัมผัสเชื้อ ขณะอยู่ในช่องคลอด โดยสรีระ ผู้หญิงมีโอกาสเสี่ยง มากกว่า ผู้ชาย
แม่สู่ลูก • ลดโอกาสเสี่ยง • คลอดโดยการผ่า • กินนมผง • นำนมแม่ ไปต้ม • กินยาต้าน • ลดโอกาสติดเชื้อเหลือ ๒-๕% • โอกาสติดเชื้อ ๒๕-๓๐% • ระหว่างตั้งครรภ์ • รกผิดปกติ • ตอนคลอด • คลอดโดยธรรมชาติ เด็กสัมผัสเลือดมาก • หลังคลอด • การกินนมแม่
ฝ่ายทำ Oral sex (ให้ผู้ติดเชื้อ) ฝ่ายถูกทำ Oral Sex (โดยผู้ติดเชื้อทำให้) oral sex
ผู้ติดเชื้อ (เจ้าของปาก) เจ้าของจู๋/จิ๋ม มีโอกาสติดเชื้อ ? ผู้ติดเชื้อ ทำ oral sex ให้
เจ้าของปาก มีโอกาสติดเชื้อ ? เจ้าของจิ๋ม ติดเชื้อ ทำ oral sex ให้ผู้ติดเชื้อ เจ้าของปาก มีโอกาสติดเชื้อ ? เจ้าของจู๋ ติดเชื้อ
เจ้าของปาก มีโอกาสติดเชื้อ ? เจ้าของจิ๋ม ติดเชื้อ ทำ oral sex ให้ผู้ติดเชื้อ ไม่พบว่า มีการติดเชื้อ
มีการติดเชื้อ อักเสบในลำคอ มีการหลั่ง ในปาก ทำ oral sex ให้ผู้ติดเชื้อ เจ้าของปาก มีโอกาสติดเชื้อ ? เจ้าของจู๋ ติดเชื้อ พบว่า มีการติดเชื้อ โดย มีปัจจัย ที่เกี่ยวข้อง
เสี่ยง โอกาสการได้รับเชื้อ HIV ? Relativity ขึ้นอยู่กับบริบท
เสี่ยง ติด ๑๐๐% โอกาสการได้รับเชื้อ HIV ? Relativity ขึ้นอยู่กับบริบท
เสี่ยง ติด ๑๐๐% โอกาสการได้รับเชื้อ HIV ? Relativity ขึ้นอยู่กับบริบท
โอกาสการติดเชื้อ HIV ใน ๑๐,๐๐๐ คน • การรับเลือด ๙,๐๐๐ คน • การใช้เข็มฉีดยาเสพติดร่วมกัน ๖๗ คน • การเป็นฝ่ายรับ เพศสัมพันธ์ทางก้น๕๐ คน • การถูกเข็มตำ ๓๐ คน • การเป็นฝ่ายรับ เพศสัมพันธ์ทางช่องคลอด ๑๐ คน • การเป็นฝ่ายรุก เพศสัมพันธ์ทางก้น ๖.๕ คน • การเป็นฝ่ายรุก เพศสัมพันธ์ทางช่องคลอด ๕ คน • การเป็นฝ่ายรับ oral sex (ทำให้ PHA)๑ คน
ปัจจัยที่ทำให้ผู้ติดเชื้อ HIV มีชีวิตได้ต่อไปอย่างมีความสุข • การกินยาตรงเวลา ตลอดชีวิต • ความหวัง / ความรัก/กำลังใจ จาก...คนรอบข้าง,ครอบครัว • เห็นคุณค่าในตัวเอง • ความพอดีในการเป็นคนหนึ่งคนในสังคม • สังคมยอมรับ?