1 / 89

สำนักบริหารการรับ – จ่ายเงินภาครัฐ

สำนักบริหารการรับ – จ่ายเงินภาครัฐ. การขอรับและการจ่าย เบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน ผ่านระบบบำเหน็จบำนาญ ( e-Pension ) หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0420.9 / ว 53 ลงวันที่ 29 มิถุนายน 2552. ระบบบำเหน็จบำนาญ.

Download Presentation

สำนักบริหารการรับ – จ่ายเงินภาครัฐ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักบริหารการรับ – จ่ายเงินภาครัฐ

  2. การขอรับและการจ่าย เบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน ผ่านระบบบำเหน็จบำนาญ (e-Pension) หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0420.9 / ว 53 ลงวันที่ 29 มิถุนายน 2552

  3. ระบบบำเหน็จบำนาญ “ระบบบำเหน็จบำนาญ”หมายถึง ระบบงานที่ทำงานแบบ Web Application เป็นระบบงานที่ใช้งานเกี่ยวกับการขอรับและการจ่ายเบี้ยหวัด บำเหน็จบำนาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน โดยระบบงานสามารถทำงานได้ทั้งในส่วนของการนำข้อมูลเข้า แก้ไขข้อมูลคำนวณเงินเบี้ยหวัด บำเหน็จบำนาญฯ พิมพ์รายงานเพื่อตรวจสอบ อนุมัติสั่งจ่าย พิมพ์หนังสือสั่งจ่าย รวมทั้งการเตรียมข้อมูลส่งธนาคารเพื่อนำเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้รับเงิน และส่งข้อมูลให้กับระบบ GFMIS โดยสามารถทำงานได้ทั้งที่หน่วยงานในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค

  4. บำเหน็จบำนาญข้าราชการบำเหน็จบำนาญข้าราชการ • ตาม พรบ.บำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2494 • ตาม พรบ.กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2539 • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการขอรับและการจ่ายบำเหน็จบำนาญ ข้าราชการ พ.ศ. 2527 • ตาม พรก.การจ่ายเงินเดือน เงินปี บำเหน็จ บำนาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน พ.ศ. 2535

  5. ผู้เกี่ยวข้อง ส่วนราชการ (ขอให้สั่งจ่ายและขอให้โอนเงินเข้าบัญชี) • ส่วนราชการผู้ขอ • นายทะเบียน • ส่วนราชการผู้เบิก กรมบัญชีกลาง (อนุมัติสั่งจ่าย และ โอนเงินเข้าบัญชี) • สำนักบริหารการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ • สำนักงานคลังเขต 1-9

  6. Administrator กรมบัญชีกลาง สำนักบริหารการรับ - จ่ายเงินภาครัฐ ผู้กำหนด รหัส ID และ PASSWORD เบอร์โทร 02 127 7000 ต่อเบอร์ 4253 4255 หรือ 4250

  7. สอบถามปัญหาต่าง ๆ สอบถามวันที่โอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร ได้ที่กรมบัญชีกลาง Call Center โทร. 0-2270-6400-3

  8. หมายเลขโทรศัพท์กลาง กรมบัญชีกลาง 02 127 7000 http://www.cgd.go.th

  9. แบบคำขอรับเงิน • แบบขอรับเบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญปกติ บำเหน็จดำรงชีพ และบำนาญพิเศษเหตุทุพพลภาพ (แบบ 5300) • แบบขอรับบำเหน็จตกทอด บำนาญพิเศษกรณีข้าราชการ ถึงแก่ความตาย (แบบ 5309) • แบบขอรับบำเหน็จลูกจ้าง (แบบ 5313) • แบบขอรับเงินทำขวัญข้าราชการและลูกจ้าง (แบบ 5401) • แบบขอรับเงินเพิ่ม (แบบ 5316) • แบบคำขอรับเงินช่วยเหลือผู้ซึ่งออกจากราชการฯ (แบบ ค.ก.ษ.)

  10. ผู้มีอำนาจลงนามในแบบคำขอรับเงินผู้มีอำนาจลงนามในแบบคำขอรับเงิน ผู้มีอำนาจลงนาม คือ • ปลัดกระทรวง ผู้ว่าราชการจังหวัด อธิบดี อธิการบดี เลขาธิการ ผู้อำนวยการ • บุคคลอื่นลงนามแทน ต้องมีคำสั่งมอบอำนาจ ให้ปฏิบัติราชการแทน หรือรักษาราชการแทน

  11. ตัวอย่างการแปลชื่อตำแหน่งตัวอย่างการแปลชื่อตำแหน่ง (นาง...........................) นักวิชาการคลังชำนาญการ รักษาราชการแทนผู้อำนวยการ.............................. ปฏิบัติราชการแทนอธิบดีกรม........................

  12. นายทะเบียน นายทะเบียนบุคลากรภาครัฐ ดูแลทะเบียนประวัติ ของข้าราชการและลูกจ้างประจำ และครอบครัว นายทะเบียนผู้รับบำเหน็จบำนาญ ดูแลทะเบียนประวัติ ของผู้รับเบี้ยหวัด บำเหน็จบำนาญ และครอบครัว ส่วนราชการผู้เบิก • เงินเดือน ค่าจ้าง • ค่ารักษาพยาบาล ส่วนราชการผู้เบิก • บำเหน็จ บำนาญ และเงินอื่น ในลักษณะเดียวกัน • ค่ารักษาพยาบาล

  13. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ระดับปฏิบัติงาน - ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ระดับหัวหน้างาน หรือ ผู้ได้รับมอบหมาย ข้าราชการซึ่งดำรงตำแหน่งประจำ หรือช่วยราชการที่ส่วนราชการผู้ขอ นายทะเบียนผู้รับบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ซึ่งดำรงตำแหน่งประจำ ที่ส่วนราชการผู้ขอ (เป็นตำแหน่งที่ช่วยราชการไม่ได้) ส่วนราชการผู้ขอ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ระดับปฏิบัติงาน ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ

  14. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ระดับปฏิบัติงาน ซึ่งเป็น ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ระดับหัวหน้างาน หรือผู้ได้รับมอบหมาย ซึ่งเป็น ข้าราชการ ซึ่งดำรงตำแหน่งประจำ หรือช่วยราชการ ที่ส่วนราชการผู้เบิก ส่วนราชการผู้เบิก

  15. ข้าราชการตายก่อนได้รับเงินข้าราชการตายก่อนได้รับเงิน • ทายาทตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยมรดก • โอนเงินเข้าบัญชีของผู้จัดการมรดก หลักฐานของผู้จัดการมรดก -สำเนาคำสั่งศาลเรื่องการแต่งตั้งผู้จัดการมรดก -สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้จัดการมรดก -สำเนาบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้จัดการมรดก

  16. ผู้มีสิทธิรับเงินถูกอายัดทรัพย์(อายัดได้ทุกประเภทเงิน)ผู้มีสิทธิรับเงินถูกอายัดทรัพย์(อายัดได้ทุกประเภทเงิน) • สำเนาคำพิพากษาของศาลในคดีล้มละลายหรือชำระค่าอุปการะเลี้ยงดู หรือค่าเลี้ยงชีพในคดีเยาวชนและครอบครัว • สำเนาบัญชีเงินฝากธนาคารของกรมบังคับคดี หรือสำนักงานบังคับคดี ที่ใช้ในระบบ GFMIS • โอนเงินเข้าบัญชีของกรมบังคับคดี หรือสำนักงานบังคับคดี ทั้งจำนวน (หลังจากหักภาษีแล้ว) • หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0409.4/ว 29 ลงวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2548 • ห้าม ส่วนราชการหักหนี้จากผู้ที่ถูกอายัดทรัพย์

  17. บำเหน็จบำนาญ เป็นเงินตอบแทนความชอบ ที่ได้รับราชการมา ลาออก ให้ออก ปลดออก เกษียณอายุ ข้าราชการ ถูกลงโทษไล่ออก ไม่มีสิทธิได้รับเงิน บำเหน็จบำนาญ บำเหน็จบำนาญปกติ

  18. บำเหน็จบำนาญปกติ บำเหน็จ หรือ บำนาญ • เหตุทดแทน • เหตุทุพพลภาพ • เหตุสูงอายุ (เกษียณอายุ) • เหตุรับราชการนาน หรือ มาตรา 48 • มาตรา 17 หรือ มาตรา 47 • อายุความ 3 ปี

  19. เหตุทดแทน • ทางราชการสั่งให้ออกจากราชการ (โดยไม่มีความผิด) บำเหน็จ - เวลาราชการ 1 ปีเป็นต้นไป บำนาญ - เวลาราชการ 9 ปี 6 เดือน เป็นต้นไป (ขอลาออกจากราชการ ไม่มีเหตุทดแทน)

  20. เหตุทุพพลภาพ ทางราชการสั่งให้ออกจากราชการ ข้าราชการขอลาออกจากราชการ ใบรับรองแพทย์ที่ทางราชการรับรอง บำเหน็จ - เวลาราชการ 1 ปีเป็นต้นไป บำนาญ - เวลาราชการ 9 ปี 6 เดือน เป็นต้นไป

  21. เหตุสูงอายุ  ทางราชการสั่งให้ออกจากราชการ กรณีเกษียณอายุ • ข้าราชการขอลาออกจากราชการ (ขอลาออก หรือ ขอ Early Retire) อายุตัว 50 ปีบริบูรณ์เป็นต้นไป บำเหน็จ - เวลาราชการ 1 ปีเป็นต้นไป บำนาญ - เวลาราชการ 9 ปี 6 เดือน เป็นต้นไป

  22. เหตุรับราชการนาน หรือ มาตรา 48 ข้าราชการขอลาออกจากราชการ (ขอลาออก หรือ ขอ Early Retire) อายุตัวเท่าไรก็ได้ มีเวลาราชการตั้งแต่ 24 ปี 6 เดือนเป็นต้นไป จะขอรับบำเหน็จ หรือบำนาญก็ได้

  23. มาตรา 17 หรือ มาตรา 47 ข้าราชการขอลาออกจากราชการ อายุตัวยังไม่ถึง 50 ปีบริบูรณ์ มีเวลาราชการ ตั้งแต่ 9 ปี 6 เดือน เป็นต้นไป แต่ไม่ถึง 24 ปี 6 เดือน (ไม่เข้าเหตุทดแทน ทุพพลภาพ หรือสูงอายุ) มีสิทธิได้รับบำเหน็จ (ไม่มีสิทธิได้รับบำนาญ)

  24. เกษียณอายุ 1 ตุลาคม 2557 • สำหรับข้าราชการที่เกิด วันที่ 2 ตุลาคม 2496 – 1 ตุลาคม 2497 • ทำเรื่องขอรับบำเหน็จบำนาญล่วงหน้าได้ ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2557 เป็นต้นไป (ล่วงหน้า 8 เดือน)

  25. การส่งเรื่องขอรับเงินล่วงหน้าการส่งเรื่องขอรับเงินล่วงหน้า • หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0420.9/ ว63 ลงวันที่ 25 มีนาคม 2557 • กรณีเกษียณอายุ • กรณียังไม่ได้ออกคำสั่งเลื่อนเพื่อประโยชน์ในการคำนวณบำเหน็จบำนาญ ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 • ให้ใช้อัตราเงินเดือน ตาม สมุด หรือ แฟ้มประวัติ ไปพลางก่อน • ขอเงินเพิ่มภายหลัง โดยใช้แบบ 5316

  26. การคำนวณบำเหน็จบำนาญ • พรบ.2494 บำนาญ= เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลา หาร 50 (ไม่เกินเงินเดือนเดือนสุดท้าย) • พรบ.กองทุน ฯ บำนาญ = เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย xเวลา หาร 50 (ไม่เกิน 70% ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย )

  27. การนับเวลาราชการเพื่อการคำนวณบำเหน็จบำนาญการนับเวลาราชการเพื่อการคำนวณบำเหน็จบำนาญ เวลาราชการปกติ หัก เวลาที่ไม่ได้รับเงินเดือน เวลาทวีคูณ หัก วันลาในระหว่างวันที่ได้รับวันทวีคูณในกฎอัยการศึก ไม่หัก วันลาในระหว่างวันที่ได้รับทวีคูณอื่น ๆ

  28. การส่งเอกสาร / หลักฐาน • แบบ 5300 • สมุดประวัติ / แฟ้ม ก.พ.7 (วัน เดือน ปี เกิด บันทึกข้อมูลตามสมุด / แฟ้มประวัติ) • คำสั่งให้ออก / ลาออก /ปลดออก • ประกาศเกษียณอายุ

  29. บำเหน็จดำรงชีพ • ขอครั้งแรกใช้แบบ 5300 รับ 15 เท่าของบำนาญไม่เกิน 200,000 • ขอครั้งที่สองใช้แบบ 5316 รับส่วนที่เกิน 200,000 แต่ไม่เกิน 400,000 • แบบ สรจ.3 ไม่ต้องส่ง (ให้เก็บเอาไว้) • บำเหน็จดำรงชีพอายุครบ 65 ปีบริบูรณ์เมื่อไร ขอได้ทันที • ไม่ต้องรอให้ถึงวันที่ 1 ตค. - 31 ธค. ของแต่ละปี • ไม่หักหนี้จากบำเหน็จดำรงชีพ

  30. การเสียสิทธิรับบำนาญ ตาย กลับเข้ารับราชการ ยกเลิกแล้ว สำหรับกรณี 1. กระทำความผิดถึงต้องโทษจำคุก 2. เป็นบุคคลล้มละลายทุจริตตามกฎหมาย ว่าด้วยล้มละลาย ตั้งแต่ 14 กุมภาพันธ์ 2551

  31. บำเหน็จตกทอด  ข้าราชการตาย เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ  ผู้รับบำนาญตาย อัตราบำนาญ + เงิน ช.ค.บ. X 30 หัก บำเหน็จดำรงชีพที่รับไปแล้ว

  32. บำเหน็จตกทอดข้าราชการตายบำเหน็จตกทอดข้าราชการตาย ข้าราชการ ตายผิดธรรมชาติ ให้คณะกรรมการสรุปว่าการตายนั้น มีสาเหตุเนื่องจากการประพฤติชั่วอย่างร้ายแรงของตนเองหรือไม่ สาเหตุการตาย ระบุในสำเนามรณบัตร ธรรมชาติ – เจ็บป่วย ผิดธรรมชาติ - อุบัติเหตุ ถูกฆ่าตาย ฆ่าตัวตาย

  33. บำเหน็จตกทอดข้าราชการตายบำเหน็จตกทอดข้าราชการตาย • ข้าราชการผู้ใดตายในระหว่างรับราชการอยู่ • ทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัดตาย • ความตายนั้นมิได้เกิดขึ้นเนื่องจากการประพฤติชั่วอย่างร้ายแรงของตนเองทายาทมีสิทธิได้รับบำเหน็จตกทอด • อายุความ 10 ปี

  34. ข้าราชการตายทายาทเสียสิทธิรับบำเหน็จตกทอดข้าราชการตายทายาทเสียสิทธิรับบำเหน็จตกทอด • ข้าราชการผู้ใดมีกรณีหรือต้องหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ถึงแก่ความตายก่อนได้รับการวินิจฉัยในเรื่องที่กระทำผิดวินัยนั้น • ให้กระทรวงเจ้าสังกัดพิจารณาวินิจฉัยว่าถ้าผู้นั้นไม่ถึงแก่ ความตายเสียก่อนจะต้องได้รับโทษถึงไล่ออกหรือไม่ • ถ้าเห็นว่าผู้นั้นจะต้องได้รับโทษถึงไล่ออก ทายาทไม่มีสิทธิได้รับบำเหน็จตกทอด

  35. บำเหน็จตกทอด จ่ายให้แก่ทายาทตามกฎหมายบำเหน็จบำนาญ บิดา มารดา 1 ส่วน คู่สมรส 1 ส่วน บุตร 2 ส่วน หรือ 3 ส่วน บุคคลซึ่งผู้ตายได้แสดงเจตนาไว้ในหนังสือ ตามแบบและวิธีการที่กระทรวงการคลังกำหนด

  36. สำเนามรณบัตร - หลักฐานการตาย ผู้รับบำนาญที่ถึงแก่ความตาย เมื่ออายุ 108 ปี บำเหน็จตกทอด อัตราบำนาญ + ช.ค.บ. x 30 หักบำเหน็จดำรงชีพที่ได้รับไปแล้ว ทายาทผู้มีสิทธิรับบำเหน็จตกทอด บิดา มารดา คู่สมรส บุตร (บุตรบุญธรรม) ปัญหา หลักฐานของ บิดา มารดา และคู่สมรสของผู้ตาย

  37. หลักฐานการเป็นทายาท บิดา • ทะเบียนบ้าน • ทะเบียนสมรส – หย่า • คำพิพากษาของศาลว่าเป็นบิดา คู่สมรส • ทะเบียนบ้าน • ทะเบียนสมรส – หย่า • คำพิพากษาของศาล(กรณีสมรสซ้อน) มารดา • ทะเบียนบ้าน • มรณบัตร หรือหนังสือรับรองการตายโดยบุคคลที่น่าเชื่อถือ บุตร • ทะเบียนบ้าน • ทะเบียนสมรส-หย่า(กรณีบิดาตาย) • คำพิพากษาของศาลว่าเป็นบุตรของบิดา • หนังสือการจดทะเบียนรับรองบุตร • หนังสือการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม

  38. ระบุตัวผู้รับบำเหน็จตกทอดตาม พรบ.บำเหน็จบำนาญ ต้องเขียนให้บุคคลอื่น ที่มิใช่บิดามารดา คู่สมรส หรือ บุตร ถ้าไม่มีทายาทและไม่มีหนังสือไม่ให้จ่ายแก่ผู้ใด ระบุตัวผู้รับเงินช่วยพิเศษ (ค่าทำศพ) ตามพรฏ.เงินเดือน เงินปี จะเขียนให้ บิดามารดา คู่สมรส บุตร หรือบุคคลอื่นก็ได้ ถ้าไม่มีหนังสือจะจ่ายตามลำดับ ที่กฏหมายกำหนด หนังสือแสดงเจตนา

  39. หนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับบำเหน็จตกทอดหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับบำเหน็จตกทอด ตามแบบและวิธีการที่กระทรวงการคลังกำหนด ข้าราชการ และผู้รับบำนาญ ระบุชื่อบุคคลธรรมดา ไม่จำกัดจำนวน (แก้ไขแล้ว ในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 14 มกราคม 2554) ยื่นต่อเจ้าหน้าที่ / ให้ลงลายมือชื่อรับหนังสือ ในหน้า 2 ให้ท่านเก็บคู่ฉบับหนังสือไว้ 1 ฉบับ

  40. บำเหน็จตกทอด - ส่วนราชการผู้ขอ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ • ตรวจสอบฐานข้อมูลจากระบบบำเหน็จบำนาญ -ฐานข้อมูลของผู้ตาย -ฐานข้อมูลของบุคคลในครอบครัว • ฐานข้อมูลไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน • ส่งนายทะเบียนผู้รับบำเหน็จบำนาญ

  41. ตรวจสอบหลักฐาน การเป็นทายาทผู้มีสิทธิ รับบำเหน็จตกทอด ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการขอรับและการจ่ายบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2527 เอกสาร – หลักฐานถูกต้อง ดำเนินการ แก้ไขข้อมูลทายาทเดิม ที่ไม่ถูกต้อง บันทึกข้อมูลทายาทเพิ่มเติม นายทะเบียนผู้รับบำเหน็จบำนาญ

  42. บำเหน็จตกทอด • บำเหน็จตกทอดไม่ใช่มรดก • ส่วนราชการผู้ขอ จะหักหนี้จากบำเหน็จตกทอดไม่ได้ หักได้เฉพาะในกรณีที่ทายาทยินยอมเท่านั้น

  43. หักหนี้จากบำเหน็จตกทอดหักหนี้จากบำเหน็จตกทอด 1.บำเหน็จตกทอด เป็นของทายาทผู้ตาย 2.ทายาททำหนังสือยินยอมให้หักหนี้ จาก บำเหน็จตกทอด ที่ตนมีสิทธิได้รับ 3.ส่วนราชการผู้ขอ บันทึกรายการหักหนี้ที่ทายาทยินยอมในระบบพร้อมกับการบันทึกรายละเอียด การขอรับบำเหน็จตกทอด 4. พิมพ์หนังสือแจ้งรายการหักเงินบำเหน็จเพื่อชำระหนี้ของส่วนราชการผู้ขอ (แบบ สรจ. 9) 5. ส่งข้อมูลหนี้ไปพร้อมกับการขอรับ บำเหน็จตกทอด

  44. หลักฐานที่กำหนดให้ส่งไปให้กรมบัญชีกลางหลักฐานที่กำหนดให้ส่งไปให้กรมบัญชีกลาง แบบ 5309  สำเนามรณบัตร  สมุด หรือแฟ้ม กพ.7 (กรณีข้าราชการตาย) • แบบ สรจ.12 (กรณีผู้รับบำนาญตาย) • กรณีมีหนี้ ให้ส่งแบบ สรจ.9 ไปด้วย

  45. หลักฐานบำเหน็จตกทอด หลักฐานที่กำหนดให้ส่ง คือ สำเนาการจดทะเบียน รับบุตรบุญธรรม  สำเนาหนังสือการจดทะเบียน รับรองบุตร  สำเนาคำพิพากษาของศาลที่สั่งว่าเป็นบุตรของผู้ตาย • หนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับบำเหน็จตกทอด (กรณีไม่มีทายาท) (ชุดต้นฉบับ) หลักฐานที่ไม่ต้องส่ง คือ • หลักฐานของบิดา-มารดา • คู่สมรส • หรือบุตร

  46. บำนาญพิเศษ • ข้าราชการ พลทหารกองประจำการ หรือบุคคลที่ทำหน้าที่ทหารตามที่กระทรวงกาลาโหมกำหนด • ปฏิบัติหน้าที่ถึงทุพพลภาพไม่สามารถจะรับราชการต่อไปได้อีกเลย • เหตุปฏิบัติราชการในหน้าที่ หรือถูกประทุษร้ายเพราะเหตุกระทำการตามหน้าที่ • ให้ได้รับบำนาญปกติกับทั้งได้รับบำนาญพิเศษด้วย • เว้นแต่ การได้รับอันตราย ได้รับการป่วยเจ็บ หรือการถูกประทุษร้ายนั้นเกิดขึ้นจากความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง หรือจากความผิด ของตนเอง

  47. บำนาญพิเศษ (1) ยามปกติ ทุพพลภาพ 5-25 ใน 50 ส่วน ตาย 25 ใน 50 ส่วน • ปฏิบัติราชการโดยอากาศยาน เรือดำน้ำ ดำน้ำ กวาดทุ่นระเบิด ขุด ทำลาย ทำ ประกอบวัตถุระเบิด มีหน้าที่เกี่ยวกับไอพิษ ทุพพลภาพ ครึ่งหนึ่ง ตาย 40 ใน 50 ส่วน (3) กระทรวงกลาโหมกำหนดในระหว่าง • การรบ การสงคราม • ปราบปรามการจลาจล ทุพพลภาพ 30 - 35 ใน 50 ส่วน ตาย 40 ใน 50 ส่วน

  48. บำนาญพิเศษ กรณีทุพพลภาพ จ่ายเจ้าตัว กรณีตาย จ่ายให้แก่ • บิดามารดา • คู่สมรส • บุตร อายุยังไม่ครบ 20 ปีในวันที่บิดามารดาถึงแก่ความตาย (จ่ายจนครบ 20 ปี หรือ 25 ปีกรณีศึกษาอยู่) • ผู้อุปการะ หรือผู้อยู่ในอุปการะ ของผู้ตาย (กรณีไม่มีทายาท) ให้รับอยู่เพียง 10 ปี

  49. บำนาญพิเศษเหตุทุพพลภาพ(จ่ายเจ้าตัว)บำนาญพิเศษเหตุทุพพลภาพ(จ่ายเจ้าตัว) • แบบ 5300 • แบบ สรจ.4 • สำเนาคำสั่งให้ออกจากราชการ • คำสั่งเลื่อนขั้นกรณีพิเศษ • หลักฐานการกำหนดอัตราส่วนของเจ้ากระทรวง • ไม่หักหนี้จากบำนาญพิเศษ

  50. บำนาญพิเศษกรณีตาย (จ่ายทายาท) • แบบ 5309 • แบบ สรจ.4 • คำสั่งเลื่อนขั้นกรณีพิเศษ • หลักฐานการพิจารณาว่าเป็นผู้อุปการะหรือผู้อยู่ในอุปการะ ของเจ้ากระทรวง (กรณีผู้ตายไม่มีทายาท) • ไม่หักหนี้จากบำนาญพิเศษ

More Related