1 / 81

นพ.สมนึก เชื้อทอง

ยินดีต้อนรับ. นพ.สมนึก เชื้อทอง. ผู้ช่วยผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 7 (อันดามัน) และคณะ. ผลการดำเนินงานตามนโยบายตรวจราชการ กลุ่มบริการ. หาดบางเบน. คณะที่ 1 การติดตามนโยบายและปัญหาเร่งด่วนของ กระทรวงสาธารณสุข. ตัวชี้วัด 0102 : จำนวนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลใน

reynold
Download Presentation

นพ.สมนึก เชื้อทอง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยินดีต้อนรับ นพ.สมนึก เชื้อทอง ผู้ช่วยผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 7 (อันดามัน)และคณะ

  2. ผลการดำเนินงานตามนโยบายตรวจราชการผลการดำเนินงานตามนโยบายตรวจราชการ กลุ่มบริการ หาดบางเบน

  3. คณะที่ 1 การติดตามนโยบายและปัญหาเร่งด่วนของ กระทรวงสาธารณสุข ตัวชี้วัด 0102 : จำนวนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลใน จังหวัดที่ผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่กำหนด

  4. สถานการณ์ 1.สถานีอนามัยหรือศูนย์สุขภาพชุมชน(PCU) จำนวน 45 แห่ง ยกระดับเป็นรพ.สต. ทั้ง 45 แห่ง คิดเป็นร้อยละ100 2.รพ.สต. 17 แม่ข่าย

  5. รายชื่อสถานีอนามัยเป้าหมายที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก สปสช.ในการยกระดับเป็น รพ.สต. ปี 2553 (10 แห่ง)

  6. รพ.สต.ที่มีกองทุนตำบล จำนวน 23 กองทุน ตำบลที่ไม่มีกองทุนตำบล มีจำนวน 4 ตำบล ได้แก่ บางใหญ่ ละอุ่นเหนือ(ละอุ่นเหนือ/ในวงเหนือ/ในวงใต้) บางพระเหนือและกำพวน

  7. การบริหารจัดการ รพ.สต.จังหวัดระนอง ปี 2553 1.การจัดทำแผนยุทธศาสตร์/แผนงานแก้ไขปัญหา/แผนปฏิบัติการ -จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา รพ.สต.ปี 2553 – 2555 ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์ 16 ตัวชี้วัด -จัดทำแผนปฏิบัติการ โดยได้กำหนดแผนการดำเนินงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ รพ.สต.ปี 2553

  8. การบริหารจัดการ รพ.สต.จังหวัดระนอง ปี 2553 2.การบริหารจัดการทรัพยากรในการแก้ปัญหาในภาพรวมแบบบูรณาการ Input -งบประมาณสนับสนุนจาก สปสช. ทั้งหมด 1,200,000 บาท -งบครุภัณฑ์ -งบสิ่งก่อสร้าง -โครงการทันตสาธารณสุขใน รพ.สต.จังหวัดนำร่อง -งบประมาณอบรม อสม.ใน รพ.สต.จำนวนเงิน 230 บาท/คน -มีพยาบาลเวชปฏิบัติครอบคลุมทุก รพ.สต. ยกเว้น สอน.กำพวน

  9. การบริหารจัดการ รพ.สต.จังหวัดระนอง ปี 2553 Process -ดำเนินการตามแบบติดตามความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล -ดำเนินการตามคุณลักษณะบริการ 5 ประการของรพ.สต. -ดำเนินการตามประเด็นสำคัญที่บ่งชี้ในการนำไปสู่ความสำเร็จของ รพ.สต.(22 ข้อย่อย)

  10. การบริหารจัดการ รพ.สต.จังหวัดระนอง ปี 2553 Output -การเชื่อมต่อระบบการรักษาพยาบาลระหว่าง รพ.สต. และ รพช.แม่ข่าย -การจัดระบบบริการดูแลผู้ป่วยในชุมชน (Home Ward) -การพัฒนาระบบข้อมูลผู้ป่วย -ระบบเวชภัณฑ์มาตรฐานเดียวกับโรงพยาบาลแม่ข่าย -การมีส่วนร่วมของชุมชน/อปท/เอกชน

  11. การบริหารจัดการ รพ.สต.จังหวัดระนอง ปี 2553 3. ระบบการกำกับ ติดตาม และประเมินผล 1) ดำเนินการตามแบบติดตามความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล 2) กำหนดการติดตามประเมินผล -ติดตามความก้าวหน้าในการประชุม กวป.สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระนอง -นิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน

  12. การบริหารจัดการ รพ.สต.จังหวัดระนอง ปี 2553 3. ระบบการกำกับ ติดตาม และประเมินผล(ต่อ) -นิเทศติดตามงานเฉพาะกิจ -เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับ ตำบล 1 ครั้ง/ปี ระดับจังหวัด 1 ครั้ง/ปี

  13. การบริหารจัดการ รพ.สต.จังหวัดระนอง ปี 2553 3. ระบบการกำกับ ติดตาม และประเมินผล(ต่อ) 3)ผลการประเมินตนเองของ รพ.สต. เป้าหมาย ปี 2553(10 แห่ง) -รพ.สต. ระดับ “ดี” จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ รพ.สต.มะมุ และม่วงกลวง -รพ.สต. ระดับ “ดีมาก” จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ รพ.สต.ราชกรูด บางแก้วนอก และบ้านนา -รพ.สต. ระดับ “ดีเยี่ยม” จำนวน 5 แห่ง ได้แก่ รพ.สต.หินช้าง บางนอน จปร. ลำเลียง และกำพวน

  14. การบริหารจัดการ รพ.สต.จังหวัดระนอง ปี 2553 4. การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นและภาคส่วนต่างๆ 1) แต่งตั้งคณะกรรมการ โดยมีภาคีเครือข่ายจากทุกภาคส่วน เป็น คณะกรรมการ รพ.สต. 2) จัดประชุมคณะกรรมการ เดือนเมษายน 2553 3) จัดเวทีประชาคม เดือนเมษายน 2553 4) แผนพัฒนาความรู้ ทักษะบุคลากร อสม.และภาคีเครือข่าย

  15. ปัญหาและอุปสรรคและข้อเสนอแนะปัญหาและอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน ยังไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณด้านโครงสร้างและครุภัณฑ์ (งบ SP2) ข้อเสนอแนะ ควรสนับสนุนงบประมาณโดยตรงให้กับจังหวัด เพื่อนำไปพัฒนาตาม บริบทของพื้นที่

  16. คณะที่ 2 การติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุข ในส่วนภูมิภาค ตัวชี้วัด 0201 : ระดับความสำเร็จของจังหวัดในการจัดทำ แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ

  17. แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 1.แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับจังหวัด 2.มีการจัดทำแผนพัฒนากำลังคน แผนงบประมาณ แผนงบลงทุน และแผน พัฒนาระบบริการของหน่วยบริการทุกระดับ แต่ยังไม่ได้รวบรวมเป็น แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับจังหวัด 3.หน่วยบริการปฐมภูมิและทุติยภูมิมีการจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการ ดังนี้

  18. 1.งานพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิ1.งานพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิ 1.1 แผนพัฒนาบริการปฐมภูมิ ได้ใช้แผนยุทธศาสตร์ความร่วมมือพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ พ.ศ. 2550 – 2554 ของประเทศมาเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิของจังหวัด ซึ่งมี 5 ยุทธศาสตร์ 1.2 การพัฒนา รพ.สต. กำหนดเป้าหมายที่จะยกระดับสถานีอนามัยเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ทุกแห่ง (100 %) แต่กระบวนการพัฒนา จำเป็นต้องกำหนดเป้าหมายการพัฒนาตาม ศักยภาพและทรัพยากรที่ได้รับการจัดสรร โดยในปี 2553 ได้กำหนดเป้าหมายการพัฒนา รพ.สต. เต็มรูปแบบ จำนวน 10 แห่ง

  19. 1.งานพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิ1.งานพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิ 1.3 การประเมินความครอบคลุมประชากร

  20. 1.งานพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิ1.งานพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิ 1.4 การบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการทำงานของหน่วยบริการปฐมภูมิ เงิน OP จ่ายเป็นค่า Fixed Cost ให้หน่วยบริการปฐมภูมิ แห่งละ 17,000 บาท/เดือน ค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราวสาธารณสุข จัดซื้อเวชภัณฑ์สนับสนุนหน่วย บริการปฐมภูมิ เงิน PP Express Demand สำหรับจัดซื้อเวชภัณฑ์สนับสนุนหน่วยบริการ ปฐมภูมิในการให้บริการส่งเสริมสุขภาพในหน่วยบริการ

  21. 1.งานพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิ1.งานพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิ 1.5 การพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน PCU การพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิตามเกณฑ์มาตรฐานศูนย์สุขภาพ ชุมชน(HCA)มีการพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิมาอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่ปี 2547 เป็นต้นมา ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2553 และเปลี่ยนมาใช้เกณฑ์ PCA โดยจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ จังหวัดระนอง เมื่อวันที่ 8-9 มีนาคม โดยมีกลุ่มเป้าหมายเจ้าหน้าที่ทุกระดับ ตั้งแต่จังหวัด อำเภอ ตำบล จำนวน 253 คน

  22. หน่วยบริการปฐมภูมิที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตามมาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (HCA) จังหวัดระนอง ระหว่างปีงบประมาณ 2547-2552

  23. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์การพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ 1.ส่งเสริมพัฒนาบุคลากรผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานปฐมภูมิให้เข้าใจถึงหัวใจ สำคัญที่เป็นคุณภาพของหน่วยบริการปฐมภูมิ คือ ต้องเป็นองค์รวมต่อเนื่อง ผสมผสานและสนับสนุนการพึ่งตนเองของประชาชนอย่างสมดุล 2.จัดเวทีประกวดผลงานวิชาการ/นวัตกรรม PCU ระดับจังหวัด ตั้งแต่ปี 2551 เป็นต้นมาและในปี 2552 ได้รับการคัดเลือกผลงานนวัตกรรม ดีเด่น ระดับประเทศ จำนวน 2 เรื่อง ดังนี้

  24. ผลงานนวัตกรรม ดีเด่นระดับประเทศ 1. นวัตกรรมเรื่อง “ ถึงบ้าน ถึงใจ ห่วงใยสุขภาพ” ซึ่งนำเสนอโดย นางสุภาพร สุดใจใหม่ สถานีอนามัยทองหลาง อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง นำเสนอ ในการประชุมมหกรรมศูนย์สุขภาพชุมชน ณ เมืองทองธานี นนทบุรี เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2552 2. นวัตกรรมเรื่อง “ Happy Heart สู่บริการใกล้บ้าน ใกล้ใจ ยิ่งใหญ่แห่งยุค” ซึ่งนำเสนอโดย นางสุภาพร สุดใจใหม่ สถานีอนามัยทองหลาง อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง โดยนำเสนอในการสัมมนาวิชาการพลังปัญญาแห่งงานจิตอาสา และงานบริการปฐมภูมิ เมื่อวันที่ 31 กรกฏาคม 2552 ณ โรงแรมมิราเคิลฯ

  25. หน่วยบริการปฐมภูมิ -แผนพัฒนาบริการปฐมภูมิและรพ.สต. โดยใช้มาตรฐาน PCU และ PCA หน่วยบริการทุติยภูมิ -จัดทำแผนยุทธศาสตร์ระดับโรงพยาบาล รพ.ทุกแห่ง เพื่อการพัฒนา คุณภาพโรงพยาบาลโดยใช้มาตรฐาน HA บูรณาการกับ HCQA และ HNQA -จัดทำแผนยุทธศาสตร์บริการพยาบาล ระดับจังหวัด โดยเชื่อมโยงกับแผน ยุทธศาสตร์ระดับเขต

  26. ผลการดำเนินงาน (ต.ค.52-ก.พ.53) การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน HA

  27. การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ตัวชี้วัด : รพ.ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพบริการพยาบาลระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 70

  28. การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ตัวชี้วัด :ร้อยละ 70 ความพึงพอใจในงาน ความสมดุลระหว่างชีวิตและ การทำงานของบุคลากรสุขภาพ (บุคลากรพยาบาล) -รพ.ระนอง ร้อยละ 63.51 -รพ.กระบุรี ร้อยละ 70.52 -รพ.กะเปอร์ ร้อยละ 70.00 -รพ.ละอุ่น ร้อยละ 61.87 -รพ.สุขสำราญ ร้อยละ 69.35

  29. การพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุขตามมาตรฐาน ISO 15189

  30. ตัวชี้วัด 0202 : ร้อยละของการถูกปฏิเสธการส่งต่อผู้ป่วย 4 ระดับ คือ ภายในจังหวัด ภายในเขต การส่งต่อข้ามเขต และการส่งต่อส่วนกลาง (กรมการแพทย์) / โรงพยาบาลนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

  31. การพัฒนาระบบรับส่งต่อผู้ป่วยการพัฒนาระบบรับส่งต่อผู้ป่วย 1.จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบรับส่งต่อผู้ป่วย 2.จัดตั้งศูนย์ประสานการส่งต่อผู้ป่วยในระดับจังหวัดและโรงพยาบาลชุมชน ทุกแห่ง 3. มีการจัดทำฐานข้อมูลด้านทรัพยากรที่จำเป็น เช่น ขีดความสามารถการ ให้บริการ ครุภัณฑ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัย 4.จัดทำแนวทางดูแลผู้ป่วย MI และไข้เลือดออก ในระดับรพท./รพช.และPCU 5. ประชุม Referral audit conference เพื่อสื่อสารความเข้าใจและจัดวาง ระบบ เรื่อง การส่งต่อผู้ป่วยคลอด

  32. การพัฒนาระบบรับส่งต่อผู้ป่วยการพัฒนาระบบรับส่งต่อผู้ป่วย 6. มีการจัดทำ Fast track โรคหัวใจขาดเลือด เฉพาะโรงพยาบาลระนอง โดยให้ผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือด ภายใน 30 นาที 7. จัดหางบประมาณเพื่อจัดซื้ออุปกรณ์ที่จำเป็นประจำรถพยาบาล คือ เครื่อง Bird’s Respirator

  33. ผลการดำเนินงาน (ต.ค.52-ก.พ.53)

  34. ตัวชี้วัด 0203 : จังหวัดมีการใช้ข้อมูลการให้บริการขั้นพื้นฐานที่เน้น ความครอบคลุมตามกลุ่มเป้าหมาย

  35. ข้อมูลที่จังหวัดใช้ 1.ข้อมูลในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ 2.ข้อมูลในกลุ่มหญิงหลังคลอด 3.ข้อมูลในกลุ่มทารกแรกเกิด 4.ข้อมูลในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี 5.ข้อมูลในกลุ่มอายุ 6-19 ปี 6.ข้อมูลในกลุ่มวัยทำงาน 20-59 ปี

  36. การได้มาซึ่งข้อมูล 1. รายงานบันทึกกิจกรรมสาธารณสุขประจำเดือน 2. รายงานบันทึกกิจกรรมสาธารณสุข งวด 3 เดือน - การตรวจพัฒนาการเด็ก - การเฝ้าระวังโภชนาการเด็ก 0-5 ปี - การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 3. รายงานบันทึกกิจกรรมสาธารณสุข งวด 6 เดือน - งานอนามัยโรงเรียน - การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 5-19 ปี

  37. การได้มาซึ่งข้อมูล 4. รายงานแบบประเมินตนเองประจำเดือน (SAR CARD) 5. รายงานเกี่ยวกับโรคเอดส์ในแม่และเด็ก - รายงาน CARE - รายงาน CHILD 6. รายงานการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงประจำเดือน 7. รายงานการเฝ้าระวังทันตสาธารณสุข (ทส.003/ ทสอ.003)

  38. การได้มาซึ่งข้อมูล 8. รายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุครบ 1 ปีและหญิงมีครรภ์ (VAC3) 9. รายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุครบ 2 ปี อายุครบ 3 ปี และอายุครบ 4-5 ปี (VAC3 เพิ่มเติม) 10. รายงานข้อมูลทันตสาธารณสุข/รายงานการสำรวจ

  39. ระบบโปรแกรมปฏิบัติการที่ใช้บันทึกข้อมูลระบบโปรแกรมปฏิบัติการที่ใช้บันทึกข้อมูล 1. โปรแกรมปฏิบัติการระดับสถานีอนามัย (HCIS) 2. โปรแกรมปฏิบัติการระดับโรงพยาบาล - โรงพยาบาลระนอง โปรแกรม Medseries - โรงพยาบาลชุมชน โปรแกรม Hospital OS 3. โปรแกรมของกรม กอง ต่างๆ - โปรแกรมงานเอดส์ในแม่และเด็ก (PHIMS) - โปรแกรมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (CxS2010) - โปรแกรมโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว - โปรแกรมยิ้มสดใสเด็กไทยฟันดี

  40. ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2553 1. การพัฒนาโปรแกรมในการพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูล 1.1 การพัฒนาโปรแกรมปฏิบัติการระดับสถานีอนามัย (JHCIS) 1.2 การพัฒนาโปรแกรมปฏิบัติการระดับโรงพยาบาล - รพท. โปรแกรม Medseries - รพช. โปรแกรม Hospital OS

  41. ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2553 2. การพัฒนาระบบรายงาน 2.1 บันทึกกิจกรรมสาธารณสุขประจำเดือน 2.2 แบบรายงานการประเมินตนเอง (SAR CARD) 2.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการด้านสาธารณสุขตาม มาตรฐานข้อมูลอนามัยและศูนย์สุขภาพชุมชน (18 แฟ้ม) 2.4 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการด้านสาธารณสุขตาม มาตรฐานข้อมูลอนามัยโรงพยาบาล (12 แฟ้ม) และ 6 แฟ้มส่งเสริม ป้องกันโรค

  42. ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2553 3. การใช้ข้อมูล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระนอง ได้นำไปใช้ในการดำเนินงาน ดังนี้ 3.1 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการ 3.2 การบริหารจัดการทรัพยากรในการแก้ปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ 3.3 การนิเทศติดตาม กำกับการดำเนินงานสาธารณสุขในพื้นที่

  43. ปัญหาอุปสรรค 1. ความต้องการข้อมูลที่หลากหลายของหน่วยงานระดับกรม กองต่างๆ 2. ส่วนกลางพัฒนาโปรแกรมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ไม่ได้เชื่อมโยงกับโปรแกรมเดิม 3. การรายงานข้อมูลที่ซ้ำซ้อน 4. กรม กองต่างๆ ไม่ได้ใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลที่จังหวัดจัดส่งให้เกิดประโยชน์ 5. หน่วยบริการข้อมูลยังขาดความถูกต้อง ครบถ้วนและทันสมัย 6. ความพร้อมของอุปกรณ์การจัดเก็บฐานข้อมูล มีประสิทธิภาพในการทำงาน ไม่เท่ากัน คอมพิวเตอร์เก่า ไม่สามารถรองรับโปรแกรมต่างๆได้

  44. ตัวชี้วัด 0204 : จังหวัดมีการใช้ Case Mix Index ในการประเมินการ บริการที่เหมาะสมกับระดับสถานบริการ

  45. ค่า CMI ผู้ป่วยในที่ส่งทางโปรแกรม e-claim ปีงบประมาณ 2549-2552 จำแนกตามระดับประเทศ เขต จังหวัด และหน่วยบริการ

  46. ตัวชี้วัด 0205 : มีการสรุปบทเรียนการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินตาม สถานการณ์จริงหรือสถานการณ์จำลองอย่างใด อย่างหนึ่ง

  47. ผลงานการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขที่ผ่านมา 1.การระบาดของโรคไข้ปวดข้อยุงลาย โดยมีรายงาน ผู้ป่วยไทย รายแรกเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2552 หลังจากนั้นเริ่มมีรายงานพบผู้ป่วยในหลายๆพื้นที่ มีรายงานผู้ป่วยเข้าข่ายและ ยืนยัน จำนวน 399 ราย คิดเป็น อัตราป่วย 219.29 ต่อประชากรแสนคน กระจายอยู่ในพื้นที่ 5 อำเภอ 30 ตำบล 178 หมู่บ้าน สำหรับ ผู้ป่วยพม่า พบผู้ป่วยรายแรกเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2552 หลังจากนั้นเริ่มมีรายงานพบผู้ป่วยในหลายๆพื้นที่ มีรายงานผู้ป่วยเข้าข่ายและ ยืนยัน จำนวน 26 ราย กระจายอยู่ในพื้นที่ 3 อำเภอ(เมือง/กระบุรี/ละอุ่น) 21 ตำบล 124 หมู่บ้าน

  48. ผลงานการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขที่ผ่านมา 2.การระบาดของโรคอหิวาตกโรค โดยมีรายงาน ผู้ป่วยไทย รายแรกเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2552 หลังจากนั้นเริ่มมีรายงานพบผู้ป่วยในหลายๆพื้นที่ มีรายงานผู้ป่วยยืนยัน จำนวน 9 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 4.95 ต่อประชากรแสนคน กระจายอยู่ใน พื้นที่ 3 อำเภอ 9 ตำบล 9 หมู่บ้าน สำหรับ ผู้ป่วยพม่า พบผู้ป่วยรายแรกเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2552 หลังจากนั้นเริ่มมีรายงานพบผู้ป่วยในหลาย ๆ พื้นที่ มีรายงานยืนยัน จำนวน 19 ราย กระจายอยู่ในพื้นที่อำเภอเมือง ( 3 ตำบล 5 หมู่บ้าน)

  49. ผลงานการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขที่ผ่านมา 3.การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ โดยมีรายงาน ผู้ป่วยไทย รายแรกเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2552 หลังจากนั้น เริ่มมีรายงานพบผู้ป่วยในหลายๆพื้นที่ มีรายงานผู้ป่วยยืนยัน จำนวน 56 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 30.78 ต่อประชากรแสนคน กระจายอยู่ในพื้นที่ 5 อำเภอ 30 ตำบล 178 หมู่บ้าน และพบผู้ป่วยตาย 1 ราย คิดเป็นอัตราตาย 0.55 ต่อ ประชากรแสนคน ในอำเภอกระบุรี

  50. การเตรียมความพร้อมในการเตรียมรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขจังหวัดระนองการเตรียมความพร้อมในการเตรียมรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขจังหวัดระนอง 1.การประเมินความเสี่ยง จังหวัดระนอง ได้กำหนดพื้นที่เสี่ยงต่อภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข 1)พื้นที่เสี่ยงต่อปัญหาโรคไข้หวัดนก -พื้นที่ที่เคยตรวจพบเชื้อไข้หวัดนกในนกธรรมชาติ ตำบลบางหิน อำเภอกะเปอร์ -พื้นที่จังหวัดใกล้เคียงที่เคยมีรายงานผู้ป่วยไข้หวัดนกหรือ พบเชื้อไข้หวัดนกในสัตว์ปีก (อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา) ตำบลกำพวน และตำบลนาคา อำเภอสุขสำราญ -พื้นที่ชายแดน ตำบลปากน้ำ ตำบลบางริ้น ตำบลบางนอน อำเภอเมือง ตำบลปากจั่น ตำบลมะมุ อำเภอกระบุรี ตำบลบางแก้ว อำเภอละอุ่น

More Related