240 likes | 510 Views
นโยบายการปฏิรูประบบสาธารณสุข. นครพนม 12 ส.ค. 2557. นพ. ศุภกิจ ศิริลักษณ์ พ.บ., อ.ว., MPHM ที่ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิด้านเวชกรรมป้องกัน. สถานการณ์ปัญหา. สังคมผู้สูงอายุ. สัดส่วน 14.7% เจ็บป่วยเรื้อรังมากขึ้น ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูงมาก.
E N D
นโยบายการปฏิรูประบบสาธารณสุขนโยบายการปฏิรูประบบสาธารณสุข นครพนม 12 ส.ค. 2557 นพ. ศุภกิจ ศิริลักษณ์ พ.บ., อ.ว., MPHM ที่ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิด้านเวชกรรมป้องกัน
สถานการณ์ปัญหา สังคมผู้สูงอายุ • สัดส่วน 14.7% • เจ็บป่วยเรื้อรังมากขึ้น • ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูงมาก การเปลี่ยนจากโรคติดเชื้อไปสู่กลุ่มโรคไม่ติดต่อ • เพิ่มจากปี 2548 จำนวน 2 เท่า (3 ล้านคน) • สัดส่วน 65% ของโรคทั้งหมด • ความดัน หัวใจ เบาหวาน ป่วยสูงสุด • มะเร็งตายสูงสุด และแนวโน้มเพิ่มขึ้น
ปัญหาตามกลุ่มวัย • IQ ต่ำกว่ามาตรฐาน • พัฒนาการเด็กล่าช้า • เด็กอ้วน ร้อยละ 8.7 • เด็กจมน้ำเสียชีวิต • แม่ท้องไม่พร้อม ปีละกว่า 1 แสนคน (ร้อยละ 16) • อุบัติเหตุจราจร สูงขึ้น (ผลจากความเสี่ยง คือ ดื่มแอลกอฮอล์) • ผู้พิการขึ้นทะเบียนกว่า 2 ล้านคน • ไม่มี นโยบายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
การใช้บริการสุขภาพ • เข้าถึงบริการมากขึ้น แต่ยังแตกต่างระหว่างภาค • ยังมีความเหลื่อมล้ำ ของชุดสิทธิประโยชน์ของ 3 กองทุน • มีการปฏิเสธการส่งต่อสูง การอภิบาลระบบการเงินการคลังสุขภาพ • ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ สูงขึ้นเร็วกว่า GDP(3.9% / GDP) • เงินภาพรวมมีพอ แต่มีโรงพยาบาลขาดทุน ระดับ 7 (รุนแรงสุด) จำนวน 175 แห่ง
การแทรกแซงจากอำนาจที่ไม่ชอบธรรมการแทรกแซงจากอำนาจที่ไม่ชอบธรรม • การแต่งตั้งโยกย้ายทุกระดับ • การจัดซื้อจัดจ้าง เอกภาพในการกำหนดการขับเคลื่อนนโยบาย • มีผู้เล่นเดิมหลากหลายและผู้เล่นใหม่เกิดขึ้นเรื่อยๆ • บทบาทด้านสุขภาพในกระทรวงอื่นและหน่วยงานเกิดใหม่ ไม่เป็นไปอย่างมีเอกภาพ
นโยบายการพัฒนาด้านสาธารณสุขนโยบายการพัฒนาด้านสาธารณสุข เป้าประสงค์ (Goal) ระบบสุขภาพที่มีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ สมานฉันท์ บนการมีส่วนร่วมของภาคประขาชน เพื่อประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข โดยมีมาตรการ 3 ระยะ • ระยะเร่งด่วน ทำทันที (ปัจจุบัน-1 ต.ค. 2557) • ระยะกลาง ทำใน 1 ปี (1 ต.ค. 2557 – 30 ก.ย. 2558) • ระยะยาว ทำใน 3 ปี (1 ต.ค. 2558 – 30 ก.ย. 2561)
มาตรการระยะเร่งด่วน • ร่วมสร้างกระบวนการสมานฉันท์ • พัฒนาระบบบริการให้ดียิ่งขี้น (The Better Service) • ได้พบหมอ • รอไม่นาน • ยาในมาตรฐานเดียวกัน • สร้างขวัญกำลังใจ • ปรับระบบค่าตอบแทนที่เป็นธรรม • จัดสรรตำแหน่งเพื่อบรรจุเป็นข้าราชการ • มีมาตรการให้ความช่วยเหลือแก่บุคลากรทางการแพทย์ที่ได้รับผลกระทบ • สร้างระบบธรรมาภิบาลและกลไกเฝ้าระวัง ตรวจสอบถ่วงดุล • มาตรการบำบัดรักษายาเสพติด • การแก้ปัญหาแรงงานต่างด้าว
มาตรการระยะกลาง 7. ปฏิรูประบบบริการเป็นเขตบริการสุขภาพ • ปฏิรูปการเงินการคลังด้านสุขภาพ • ปฏิรูประบบข้อมูลสุขภาพ 10. พัฒนาและบังคับใช้กฎหมาย 11. พัฒนากลไก การสร้างเอกภาพในการกำหนดนโยบายสาธารณสุขของประเทศ 12. การเตรียมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน มาตรการระยะยาว 13. จัดทำแผนการลงทุน 14. จัดทำแผนผลิตและพัฒนากำลังคน
ปฏิรูปทำไม Dr.Supakit Sirilak 1. กระทรวงสาธารณสุขอ่อนแอลง มีคน 300,000 ไม่มี HR Unit? 2. เกิดผู้เล่นใหม่ในระบบสุขภาพ ทำให้ขาดเอกภาพ ยังเป็น Health Authority? 3. สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพเปลี่ยนไป เบาหวาน ความดัน มะเร็งเต็มเมือง 4. การขาดประสิทธิภาพ เงินพอแต่ รพ. เจ๊ง
แท้ง วางระบบเชื่อมโยง.. ประชาชน/ระบบราชการ/การเมือง (บริหาร/นิติบัญญัติ) นโยบายรัฐบาล แถลงต่อสภาฯ นโยบายระยะยาว รัฐสภา ครม. สถานพยาบาลทั้งประเทศ คณะกรรมการนโยบายสาธารณสุขแห่งชาติ กระทรวงที่เกี่ยวข้อง ประชาชนทั้งประเทศ ข้อแนะนำ กระทรวงสาธารณสุข กองทุนฯ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม สวรส สรพ สพฉ สสส สปสช อภส คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ/สช (นรม. เป็นประธาน) เชื่อมโยงชุมชน /รับฟังความเห็น /ประสานความเข้าใจ/ขับเคลื่อนชุมชน ท้องถิ่น/ชุมชน/ประชาชน
ข้อเสนอโครงสร้างการสร้างนโยบายและยุทธศาสตร์สุขภาพข้อเสนอโครงสร้างการสร้างนโยบายและยุทธศาสตร์สุขภาพ
โครงสร้างและความเชื่อมโยง NHA ครม. คกก.นโยบายสาธารณสุขแห่งชาติ (คนสช.) National Health Policy Board : NHPB สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ (OSM) สำนักพัฒนากำลังคน ด้านสุขภาพแห่งชาติ ศูนย์ข้อมูลสุขภาพแห่งชาติ สำนักพัฒนาระบบยาและเทคโนโลยีสุขภาพแห่งชาติ สำนักนโยบายการคลังและ เศรษฐกิจสุขภาพ สำนักพัฒนากฎหมายสาธารณสุข
โครงสร้างระบบ NHA (NHDB) สปสช. กสธ. สปส./กรม บช กลาง ระบบตรวจราชการและระบบสนับสนุน คกก.เขตสุขภาพประชาชน อปสข. คกก.จัดบริการเขตสุขภาพ สปสช.เขต สนง.สาธารณสุขเขต (สสข.) กวป. + สสจ. คปสอ. +(DHS) สสอ. รพศ./รพท./รพช. รพ สต.
หลักการ • ขนาดพื้นที่ที่เหมาะสม 4-8 จังหวัด, 4-6 ล้านคน(Economy of Scale, Scope, Speed) • การส่งต่อไร้รอยต่อ • การเพิ่มคุณภาพ, ประสิทธิภาพ • การกระจายอำนาจจากส่วนกลาง • การสร้างกลไกที่มีเอกภาพระหว่าง • ผู้ซื้อบริการ ผู้ให้บริการ และผู้กำกับดูแล
องค์ประกอบคณะกรรมการเขตสุขภาพองค์ประกอบคณะกรรมการเขตสุขภาพ สูตร 1-12-12-1= 25 • ประธานเลือกกันเองในกรรมการ • ผู้ซื้อบริการ 3 (สปสช., สปส., กรมบัญชีกลาง) • ผู้รับบริการ 9 (4: ข้าราชการ 1 ลูกจ้างประกันสังคม 1 บัตรทอง 2) • (+3 : อบจ. เทศบาล อบต.) • (+2: อสม.) • ผู้กำกับ ติดตาม ประเมินผล 5 (ผตร., สธน., ศูนย์เขต, สสจ., สสอ.) • ผู้ให้บริการ 7 (รพ.รัฐนอกสังกัด 2, รพ.เอกชน, รพศ.ที่ตั้ง สสข., รพศ./รพท., รพช., รพ.สต.) • ผอ. สสข. เลขา อยู่ระหว่างปรับปรุง
บทบาทหน้าที่คณะกรรมการเขตสุขภาพบทบาทหน้าที่คณะกรรมการเขตสุขภาพ 1. กำหนดทิศทาง แนวนโยบาย กลยุทธ์ ความคาดหวังและเป้าหมายความสำเร็จ ที่สอดคล้องกับนโยบายระดับชาติ ปัญหาสุขภาพและความต้องการของประชาชน (Need) ในเขตพื้นที่ ทั้งส่งเสริมสุขภาพ ควบคุมป้องกันโรค รักษาพยาบาล ฟื้นฟูสุขภาพ และคุ้มครองผู้บริโภค 2. กำหนดบทบาทและแนวทางดำเนินการของผู้ซื้อ ผู้ให้บริการ และผู้กำกับและประเมินผลให้ชัดเจน 3. กำหนดข้อตกลงในการจ่ายเงิน ตามกรอบข้อตกลงระหว่าง กระทรวงสาธารณสุข กับ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือกองทุนอื่นๆ หรือสนับสนุนงบประมาณ ระหว่างผู้ซื้อและผู้ให้บริการ โดยมีการกำหนดผลงานบริการที่ต้องการ การกำหนดตัวชี้วัดผลงานที่ต้องการร่วมกัน 4. ติดตาม กำกับ และประเมินผลการดำเนินงาน 5. วิเคราะห์และสรุปผลการดำเนินงานประจำปี รายงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6. อื่นๆ ที่เป็นนโยบายสุขภาพของประเทศ อยู่ระหว่างปรับปรุง
องค์ประกอบคณะกรรมการจัดบริการเขตสุขภาพองค์ประกอบคณะกรรมการจัดบริการเขตสุขภาพ • ประธาน ผตร. • รอง ประธาน สธน. • กรรมการ • สสจ.ทุกจังหวัด • สสอ.จังหวัดละ 1 • ผอ.รพศ/รพท.จังหวัดละ1 • ผอ.รพช.จังหวัดละ 1 • ผอ.รพ.สต. จังหวัดละ 1 • ผอ. ศูนย์เขตทุกแห่ง • รพ.รัฐนอกสังกัด, รพ.เอกชน แห่งละ 1 • ผู้แทน ผอ. สังกัด สบช. • ผอ. สสข. เลขา
สำนักงานสาธารณสุขเขต กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ กลุ่มงานบริหารการเงินการคลัง กลุ่มงานบริหาร ทรัพยากรบุคคล กลุ่มงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ กลุ่มงานอำนวยการ • งานแผนงานและยุทธศาสตร์ • งานข้อมูลข่าวสาร • งานเทคโนโลยีและสารสนเทศ • งานด้านงบลงทุน • งานควบคุม กำกับและประเมินผล • งานวิจัยและโครงการพิเศษ • งานบริหารการเงินการ คลัง • งานบริหารและจัดการงบประมาณ • การบริหารเวชภัณฑ์และวัสดุการแพทย์ • งานการเงินและบัญชี • งานวางแผนทรัพยากรบุคคล • งานสรรหาและคัดเลือก บุคลากร • งานบริหารทรัพยากรบุคคล • งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล • งานระบบสารสนเทศและ ร่วมบริการ • งานพัฒนาสายอาชีพและวางแผนสืบทอดตำแหน่ง • งานบริหาร • งานสารบรรณงานธุรการ • งานการเงินและบัญชี • งานพัสดุและยานพาหนะ • งานนิติการ • งานยุทธศาสตร์ Service Plan • งานบริหารจัดการ ระบบบริการสุขภาพ • งานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ • งานขับเคลื่อน Service Plan
District Health System • คืออะไร • ต่างจาก คปสอ.? • บริการปฐมภูมิรึเปล่า • เกี่ยวอะไรกับ one health • PCA, DHML, CBL, SRM • คือ UCARE? • เมื่อไรจะบอกว่าดีแล้ว
สุขภาพดี เข้มแข็ง มีส่วนร่วมสานพลัง บริการครอบคลุม มีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ ย1. พัฒนาชุมชน ย2. พัฒนาเครือข่าย ย3. พัฒนาบริการ CBL. DHML. SRM. PCA. Strategic Plan M&E etc. Unity Community Appreciation Resource Essential Participation Sharing Care บริการ กำลังคน ข้อมูล ยาและเทคโนโลยีการแพทย์ การเงินการคลัง การอภิบาล
ระยะทางจากโลกถึงดวงจันทร์ระยะทางจากโลกถึงดวงจันทร์ 1/4 ล้าน ไมล์ ระยะทาง 3 ไมล์แรก ใช้พลังงานไป 50 % ของทั้งหมด