360 likes | 760 Views
46 ปี. บรรยายแนะนำกรมส่งเสริมการเกษตร. ศาสตราจารย์พิเศษ ทำนอง สิงคาลวณิช 2511-2518. ประวัติกรมส่งเสริมการเกษตร. จัดตั้งตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2510 มีผลบังคับใช้ 21 ตุลาคม 2510 อัตรากำลังข้าราชการ 1,726 ตำแหน่ง
E N D
46 ปี บรรยายแนะนำกรมส่งเสริมการเกษตร
ศาสตราจารย์พิเศษ ทำนอง สิงคาลวณิช 2511-2518
ประวัติกรมส่งเสริมการเกษตรประวัติกรมส่งเสริมการเกษตร จัดตั้งตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2510 มีผลบังคับใช้ 21 ตุลาคม 2510 อัตรากำลังข้าราชการ 1,726 ตำแหน่ง ปี 2535 มีอัตรากำลังสูงสุด คือ ข้าราชการ 12,339 ตำแหน่ง ลูกจ้างประจำ 3,263 อัตรา รวม 15,602 อัตรา ปัจจุบัน(2556) มีหน่วยงานในส่วนกลาง 7 กอง 4 สำนัก 6 เขต 50 ศูนย์ ส่วนภูมิภาค 77 จังหวัด 822 อำเภอ อัตรากำลังปี 2556 ข้าราชการ 9,631 ตำแหน่ง ลูกจ้างประจำ 1,014 อัตรา พนักงานราชการ 2,455 อัตรา รวม 13,100 อัตรา ดูแลเกษตรกร 7.2 ล้านครัวเรือน งบประมาณปี พ.ศ. 2556 5,397 ล้านบาท เป็นงบบุคลากร 3,633 ล้านบาท
อัตรากำลังกรมส่งเสริมการเกษตรอัตรากำลังกรมส่งเสริมการเกษตร
อัตรากำลังกรมส่งเสริมการเกษตรอัตรากำลังกรมส่งเสริมการเกษตร
“กรมส่งเสริมการเกษตรเป็นองค์กร ที่มุ่งมั่นในการส่งเสริมและพัฒนา ให้ครอบครัวเกษตรกรอยู่ดีมีสุข อย่างยั่งยืน” วิสัยทัศน์
ค่านิยม มุ่งมั่นบริการ ทีมงานเป็นเลิศ เชิดชูคุณธรรม ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
พันธกิจ ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง และสามารถพึ่งพาตนเองได้ ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรให้มีขีดความสามารถในการผลิตและจัดการสินค้าเกษตรตามความต้องการของตลาด ให้บริการทางการเกษตรและผลิตปัจจัยทางการเกษตรเพื่อสนับสนุนและจำหน่ายแก่เกษตรกรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ศึกษา วิจัย และพัฒนางานด้านการส่งเสริมการเกษตรและบูรณาการการทำงานกับทุกภาคส่วน
ภารกิจตามกฎหมาย ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร 1 ฝึกอาชีพเกษตรกรและให้บริการทางการเกษตร 2 พัฒนา ส่งเสริม และประสานการถ่ายทอดความรู้ด้านการผลิตและ การจัดการผลผลิตพืช ประมง และปศุสัตว์ แก่เกษตรกร 3 ปฏิบัติงานตามที่กฎหมายกำหนด กระทรวง และ ครม. มอบหมาย 4 ทำหน้าที่เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน (พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548) 5
แผนภูมิโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการแผนภูมิโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ อธิบดี ราชการบริหารส่วนกลาง รองอธิบดี กลุ่มตรวจสอบภายใน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานเลขานุการกรม กองพัฒนาการเกษตรพื้นที่เฉพาะ กองแผนงาน กองการเจ้าหน้าที่ กองคลัง ศูนย์สารสนเทศ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาเกษตรกร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1-6 (ศูนย์ปฏิบัติการ 50 ศูนย์) สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ราชการบริหารส่วนภูมิภาค สำนักงานเกษตรจังหวัด 77 จังหวัด สำนักงานเกษตรอำเภอ 882 อำเภอ
โครงสร้างอายุข้าราชการกรมส่งเสริมการเกษตรปี 2556 1. อายุเฉลี่ยของข้าราชการ 47.63 ปี (ณ 30 กันยายน 2555) 2. ข้าราชการที่มีอายุตั้งแต่ 50 ปี ขึ้นไป จำนวน 4,821 คน (53.31%) 3. ข้าราชการที่จะเกษียณอายุราชการในอีก 5 ปี ข้างหน้า จำนวน 1,705 คน (18.96%) 4. ข้าราชการที่จะเกษียณอายุราชการในอีก 10 ปีข้างหน้า จำนวน 4,870 คน (57.68 %) 5. สายงานที่มีอัตราการสูญเสียในอีก 5 ปีข้างหน้า มากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ 1) นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร จำนวน 1,152 คน (67.02 %) 2) เจ้าพนักงานการเกษตร จำนวน 198 คน (11.61 %) 3) เจ้าพนักงานธุรการ จำนวน 130 คน (7.62 %) 4) เจ้าพนักงานเคหกิจเกษตร จำนวน 35 คน (2.05 %) 5) นักวิชาการเกษตร จำนวน 30 คน (1.75 %)
โครงสร้างกองการเจ้าหน้าที่โครงสร้างกองการเจ้าหน้าที่ กองการเจ้าหน้าที่ 51 ฝ่ายทะเบียนประวัติ และบำเหน็จความชอบ ฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มงานวินัยและนิติการ 9 10 12 4 ฝ่ายสวัสดิการและเจ้าหน้าที่สัมพันธ์ 6 กลุ่มพัฒนาระบบงาน และอัตรากำลัง 9 ผู้อำนวยการระดับสูง กรอบอัตรากำลังข้าราชการ 51 ตำแหน่ง ลูกจ้างประจำ 13 ตำแหน่งพนักงานราชการ 26 ตำแหน่ง นิตกร (ชก/ชพ) นักทรัพยากรบุคคล (ชก/ชพ) เจ้าพนักงานธุรการ (อว) นักทรัพยากรบุคคล (ชพ) เจ้าพนักงานธุรการ (ปง/ชง) - 3 ทรัพยากรบุคคล (ปก/ชก) - 7 ทรัพยากรบุคคล (ปก/ชก) - 6 เจ้าพนักงานธุรการ (ปง/ชง) - 2 เจ้าพนักงานธุรการ (ปง/ชง) - 3 นักทรัพยากรบุคคล (ชพ) นักทรัพยากรบุคคล (ชก/ชพ) นิติกร (ปก/ชก) - 7 นักทรัพยากรบุคคล (ปก/ชก) - 3 นักทรัพยากรบุคคล (ปก/ชก) - 7 เจ้าพนักงานธุรการ (ปง/ชง) - 1 เจ้าพนักงานธุรการ (ปง/ชง) - 2 เจ้าพนักงานธุรการ (ปง/ชง) - 4
อำนาจหน้าที่ของการเจ้าหน้าที่อำนาจหน้าที่ของการเจ้าหน้าที่
ภารกิจของการบริหารทรัพยากรบุคคลภารกิจของการบริหารทรัพยากรบุคคล จัดระบบและบริหารงานบุคคล อย่างสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของกรม มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล โปร่งใส ตรวจสอบได้ และบุคลากรของกรมมีความสมดุลย์ในชีวิตการทำงาน
กระบวนงานบริหารทรัพยากรบุคคลกระบวนงานบริหารทรัพยากรบุคคล สรรหา พัฒนา รักษาไว้ ใช้ประโยชน์ • การพัฒนาบนฐานสมรรถนะ • พัฒนาบุคลากรเพื่อสร้างความต่อเนื่องในการปฏิบัติงาน • การย้ายสับเปลี่ยนหมุนเวียนเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ • เสริมสร้างวินัยและคุณธรรม (จรรยาของข้าราชการ) • การประเมินผลปฏิบัติราชการและเลื่อนเงินเดือนที่เป็นธรรม • การจัดสวัสดิการและสิ่งจูงใจที่เพียงพอและเหมาะสม • การจัดสภาพแวดล้อมที่ดี • มีความก้าวหน้าในอาชีพ • มีแผนการสรรหา บรรจุ แต่งตั้งบุคคลเพื่อทดแทนตำแหน่ง • หลักเกณฑ์การคัดเลือกที่โปร่งใสเป็นธรรม • มีข้อมูลบุคคลที่ถูกต้องและทันสมัย • มีโครงสร้างการบริหารงาน ที่ชัดเจน • จัดอัตรากำลังให้สอดคล้อง กับภารกิจ • มีการมอบหมายงานและประเมินผลงานที่เป็นธรรม แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล ข้าราชการ ที่มีคุณภาพ
หลักการ ใช้ระบบคุณธรรม (Merit System) • หลักความเสมอภาคในโอกาส 1 2 • หลักความสามารถ 3 • หลักความมั่นคงในอาชีพ 4 หลักความเป็นกลางทางการเมือง
2 3 4 5 การตัดโอนตำแหน่ง/เปลี่ยนสายงาน การประเมินผลงานวิชาการ การปรับปรุงโครงสร้างการแบ่งงานภายใน การวางแผนอัตรากำลัง ภารกิจด้านพัฒนาระบบงานและอัตรากำลัง 1 การปรับปรุงกำหนดตำแหน่งเป็นระดับสูงขึ้น 6 จัดทำยุทธศาสตร์การบริหารงานบุคคล
2 การคัดเลือกบุคคลเข้ารับการประเมินผลงานเลื่อนระดับ ภารกิจด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง 1 การสรรหาและเลือกสรร 3 การจัดทำข้อมูลในบัญชีถือจ่ายและระบบจ่ายตรง 4 งานโอน ย้ายข้าราชการ 5 จัดทำสัญญาจ้าง และบัญชีถือจ่ายพนักงานราชการ
4 คำนวณและจัดทำการขอรับบำเหน็จบำนาญ ภารกิจด้านทะเบียนประวัติและบำเหน็จความชอบ การบันทึกข้อมูลบุคคลลงในแฟ้มประวัติ ก.พ.7 และระบบสารสนเทศและการจัดทำบัตรประจำตัว 1 2 การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการและค่าจ้างลูกจ้างประจำ 3 จัดทำคำสั่งเลื่อนค่าตอบแทนของพนักงานราชการ 5 การจัดทำระบบจ่ายตรงสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล 6 งานเครื่องราชอิสริยาภรณ์และการลาทุกประเภท
2 4 จัดสวัสดิการ งานฌาปนกิจสงเคราะห์ ภารกิจด้านสวัสดิการและเจ้าหน้าที่สัมพันธ์ 1 การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิต 1.1 ตรวจสุขภาพประจำปี 1.2 ทุนการศึกษาบุตร 1.3 การคุ้มครองชีวิต 3 งานเจ้าหน้าที่สัมพันธ์ กีฬา และสันทนาการ
ภารกิจด้านวินัยและนิติการภารกิจด้านวินัยและนิติการ 1 งานวินัย สอบข้อเท็จจริง ข้อร้องเรียน 2 งานนิติการ งานคดีปกครองและคดีทั่วไป การตรวจร่างสัญญา ฯลฯ 3 งานส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม
นโยบายการบริหารงานบุคคลปี 2556 พัฒนาบุคลากรและสร้างขวัญกำลังใจเพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แนวทางการดำเนินงาน พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะ ที่จำเป็นตามสายงานและกลุ่มตำแหน่ง ด้วยรูปแบบ และวิธีการที่หลากหลายทั้งกลุ่มข้าราชการบรรจุใหม่ กลุ่มนักบริหาร กลุ่มสายงานหลักและสนับสนุน 1 กิจกรรม จัดทำมาตรฐานความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ ให้ครบทุกสายงาน 1.1 1.2 จัดทำเส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพ
แนวทางการดำเนินงาน พัฒนาและเตรียมความพร้อมของบุคลากรเพื่อดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น และมีการจัดทำแผนทดแทนกำลังคนในระยะยาว ซึ่งครอบคลุมทั้งการสรรหาและพัฒนาบุคลากร เพื่อทดแทนอัตรากำลังที่จะเกษียณอายุราชการที่จะมีจำนวนมากขึ้น โดยเฉพาะ การถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ของบุคลากรที่ใกล้จะเกษียณอายุราชการสู่บุคลากรรุ่นใหม่ 2 กิจกรรม 2.1 จัดทำแผนทดแทนกำลังคนในสายงานที่จะขาดแคลนในอนาคต จัดทำแผนปฏิบัติการบริหารกำลังคนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอายุราชการ : KM 2.2
แนวทางการดำเนินงาน พัฒนาสื่อเทคโนโลยีการฝึกอบรมและการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผ่านสื่ออิเล็คทรอนิกส์ เพื่อเพิ่มช่องทางการพัฒนาบุคลากร ให้มีความหลากหลายมีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการพัฒนาบุคลากร กับหน่วยงานภายนอก ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา เพื่อให้การพัฒนาบุคลากร มีความคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยมีการติดตามประเมินผลเพื่อนำไป พัฒนาปรับปรุงต่อไป 3 กิจกรรม กำหนดเป็นตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการของกอง/สำนัก/จังหวัด ผลักดันให้ข้าราชการมีการเรียนรู้ด้วยตนเอง 3.1
แนวทางการดำเนินงาน สร้างขวัญกำลังใจ และพัฒนาคุณภาพชีวิตบุคลากรโดยให้มีการคัดสรรบุคคลและองค์กรดีเด่น และนำไปเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาให้ผลตอบแทนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การขึ้นเงินเดือน การเลื่อนตำแหน่ง การศึกษาดูงาน ในต่างประเทศ เป็นต้น รวมทั้งจัดสวัสดิการและดูแลความก้าวหน้าในสายอาชีพอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม 4 กิจกรรม 4.1 โครงการประกวดบุคคลและองค์กรดีเด่น จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิต : ความผาสุก ความพึงพอใจ และแรงจูงใจของบุคลากร 4.2
แผนงานด้านบริหารทรัพยากรบุคคลแผนงานด้านบริหารทรัพยากรบุคคล แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล พ.ศ. 2555 - 2559 แผนดำเนินการรองรับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอายุข้าราชการ พลเรือนสามัญ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 - 2560 แผนเส้นทางความก้าวหน้าในสายอาชีพกรมส่งเสริมการเกษตร พ.ศ. 2556 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพชีวิตข้าราชการ พ.ศ. 2554 - 2556 แผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม กรมส่งเสริมการเกษตร พ.ศ. 2555 - 2559 แผนอัตรากำลังคนทดแทน
เส้นทางก้าวหน้าในสายงานของข้าราชการกรมส่งเสริมการเกษตรปรับปรุงใหม่ตามข้อสังเกต อ.ก.พ.กรมฯ (29พ.ค.56) อธิบดี 1 ปี หรือรวมอำนวยการไม่น้อยกว่า 3 ปี รองอธิบดี อำนวยการระดับต้นและสูงไม่น้อยกว่า 2 ปี ผอ.กอง/สำนัก/เขต ระดับสูง 3 ปี 1 ปี เกษตรจังหวัด ระดับสูง ผู้เชี่ยวชาญ 4 ปี 4 ปี 1 ปี หรือ นับรวมชำนาญการพิเศษ 4 ปี 1 ปี หรือ นับรวมชำนาญการพิเศษ 4 ปี 1 ปี ผอ.กอง ระดับต้น เกษตรจังหวัด ระดับต้น 3 ปี 3 ปี (1 ปีในงาน ที่เกี่ยวข้อง) 1 ปี และรวมชำนาญการพิเศษอื่น ๆ ไม่น้อยกว่า 3 ปี 1 ปี และรวมชำนาญการพิเศษอื่น ๆ ไม่น้อยกว่า 3 ปี หัวหน้ากลุ่ม ชำนาญการพิเศษ หัวหน้าฝ่าย/กลุ่ม/ส่วน/ศูนย์ ชำนาญการพิเศษ เจ้าพนักงานอาวุโส 1 ปี เกษตรอำเภอชำนาญการพิเศษ นักวิชาการชำนาญการพิเศษ (ภายใต้กลุ่ม) 6 ปี (1 ปี ในงานที่เกี่ยวข้อง) 2 ปีและรวมกับชำนาญการอื่น ๆ ไม่น้อยกว่า 4 ปี เจ้าพนักงานชำนาญงาน เกษตรอำเภอชำนาญการ 4 ปี (1 ปีในงานที่เกี่ยวข้อง) 2 ปี นักวิชาการชำนาญการ นักวิชาการชำนาญการ 6-8 ปีตามวุฒิการศึกษา (1 ปีในงานที่เกี่ยวข้อง) 2-6 ปี ตามวุฒิการศึกษา (1 ปีในงานที่เกี่ยวข้อง) 2-6 ปี ตามวุฒิการศึกษา เจ้าพนักงานปฎิบัติงาน นักวิชาการปฏิบัติการ(อำเภอ) นักวิชาการปฏิบัติการ
ข้อควรปฏิบัติในการทำงานข้อควรปฏิบัติในการทำงาน • จัดทำแผนปฏิบัติงานที่ตนเองรับผิดชอบ เป็นรายปี /เดือน/สัปดาห์ และกำหนดตัวชี้วัดเพื่อใช้ในการจัดทำข้อตกลงรายบุคคล • วางเป้าหมายการทำงานให้ชัดเจนว่าวันนี้จะทำอะไรให้เสร็จ ถ้ามีงานหลายชิ้นให้แบ่งเวลาการทำงานในแต่ละวันว่างานแต่ละเรื่องจะใช้เวลาเท่าใดให้แล้วเสร็จ บางงานมีมาตรฐานระยะเวลาไว้ เช่น การตอบข้อร้องเรียน • ตกลงกันในทีมงานเพื่อแบ่งความรับผิดชอบ ใครเป็นหลัก เป็นผู้สนับสนุน ต้องรับรู้ข้อมูลเท่ากัน สามารถทำงานแทนกันได้ • ตั้งใจทำงาน บริหารเวลาให้เป็น เวลางาน เวลาพัก และกิจธุระส่วนตัว ไม่ให้งานใดเสียหาย • สรุปงานในแต่ละเดือนว่าทำได้ตามเป้าหมายหรือไม่ • สร้างความสัมพันธ์อันดีในทีมงาน รักษาน้ำใจ ไม่แบ่งแยก เชื่อฟังผู้อาวุโส • ปรับปรุง/พัฒนาการทำงานให้ดีขึ้นอยู่เสมอ ไม่ควร copy ของเดิม • พยายามรักษาภาพลักษณ์ที่ดีของหน่วยงาน