330 likes | 557 Views
รายงานการดำเนินงานสาขาเคมี. ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2548. บุคลากรสาขาวิชาเคมี. รองหัวหน้าสาขาวิชา หัวหน้าการสอนระดับ ม .4 งานวิชาการ และ ICT. หัวหน้าสาขาวิชา. หัวหน้าการสอน ม.5 กิจกรรมบรรยายพิเศษ เลขานุการ. บุคลากรสาขาวิชาเคมี. งานพัสดุ โครงงานวิทยาศาสตร์และ JSTP
E N D
รายงานการดำเนินงานสาขาเคมีรายงานการดำเนินงานสาขาเคมี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2548
บุคลากรสาขาวิชาเคมี รองหัวหน้าสาขาวิชา หัวหน้าการสอนระดับม.4 งานวิชาการและ ICT หัวหน้าสาขาวิชา หัวหน้าการสอน ม.5 กิจกรรมบรรยายพิเศษ เลขานุการ
บุคลากรสาขาวิชาเคมี • งานพัสดุ • โครงงานวิทยาศาสตร์และ JSTP • ดูแลห้องโครงงานและห้อง 3505 หัวหน้าการสอนระดับม.6 หัวหน้าการสอน AP Program งานวัดผลและประเมินผล งานวิชาการและโอลิมปิกเคมี งานชุมนุมสาขาวิชา งานประชาสัมพันธ์ งานห้องสมุดสาขาวิชา งานคลินิกวิชาการเคมี
บุคลากรสาขาวิชาเคมี งานพัสดุ งาน ICT งานบรรยายพิเศษ ดูแลห้องปฏิบัติการ 3601 และ 3603 โครงงานวิทยาศาสตร์ กิจกรรมศึกษาดูงาน ครูอาสาจากประเทศเกาหลี กำลังศึกษาต่อ
ภาพกิจกรรมการเรียนการสอนภาพกิจกรรมการเรียนการสอน ฟังบรรยาย ทำการทดลอง ศึกษาแบบจำลองโมเลกุล สอบภาคปฏิบัติ สืบค้นข้อมูล รายงานหน้าชั้นเรียน
การพัฒนาด้านการเรียนการสอนการพัฒนาด้านการเรียนการสอน • การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ ICT • ระบบอินเทอร์เน็ต • เว็บไซต์ของคุณครู • การประเมินผลรายบุคคลทั้งในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติเป็นรายบุคคล • วิชาเคมี 2 (ม.4) • เคมีอินทรีย์ (ม.5) • การวิจัยในชั้นเรียน • ศึกษาการนำสื่อมัลติมีเดียจากอินเทอร์เน็ตใช้ร่วมกับการทดลองปฏิบัติการเคมีแบบย่อส่วน วิชาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 • ศึกษาผลการใช้เอกสารประกอบการเรียนแบบสองภาษาในวิชาเคมี ชั้น ม.5
การพัฒนาสื่อการสอน • แผนการจัดการเรียนรู้ โครงการสอน และแผนการประเมินผลการเรียนรู้
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ • กิจกรรมค่ายวิชาการ • กิจกรรมโอลิมปิกเคมี • กิจกรรม Australian National Chemistry Quiz • กิจกรรมชุมนุม • ศึกษาดูงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • กิจกรรมบรรยายพิเศษทางวิทยาศาสตร์ • กิจกรรมคลินิกวิชาการ
กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาเคมี • ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2548 สาขาวิชาเคมี รับผิดชอบทั้งสิ้น 63โครงงาน ( ม.6 36 โครงงาน และ ม.5 27 โครงงาน ) • ผลการประเมินคะแนนโครงงานภาคปฏิบัติของสาขาเคมี ชั้น ม.6 รุ่นที่ 13 ปีการศึกษา 2548 เฉลี่ย 8 โครงงานต่อครู 1 คน
การให้บริการห้องโครงงานการให้บริการห้องโครงงาน นอกเวลาราชการ เวลา 18.00-21.00 น. วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 09.00-16.00 น. วันเสาร์และอาทิตย์ สรุปการใช้บริการห้องโครงงานนอกเวลาราชการภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2548 นักเรียนใช้บริการเฉลี่ย 3 คนต่อวัน
ผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาเคมี • โครงงานสาขาวิชาเคมี 8 โครงงาน ได้รับคัดเลือกให้นำเสนอในงาน The 1 st Thailand International Science Fair 2005 • โครงงาน เรื่อง สบู่จากเมล็ดยางพารา (ชั้น ม.5) • ได้รับทุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สำนักประสานงานชุดโครงการวิจัย “การพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารา (สปว. ยางพารา)” • นำเสนอผลงาน ทั้งภาคบรรยายและโปสเตอร์ ในวันที่ 15-16 มีนาคม 2549 ณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่
กิจกรรมค่ายวิชาการ สาขาวิชาเคมี • ค่ายกลมกลิ้งริมอ่าวไทย • ค่ายซับลังกา ตามหารองเท้านารี
ค่ายธรรมชาติซับลังกาตามหารองเท้านารีค่ายธรรมชาติซับลังกาตามหารองเท้านารี
กิจกรรมโอลิมปิกเคมี • นักเรียนที่มีสิทธิ์เข้าค่าย สสวท.รอบที่ 2 12 มีนาคม – 31 มีนาคม และ 16 -28 เมษายน2549 มีจำนวน 4คน นางสาวชนกานต์ สืบถวิลกุล ม. 6/5 นางสาวภัทรวดี ประยืนยง ม. 6/5 นายวีระศักดิ์ ศรีสุขนิมิตม. 5/3 นายกษมา รักเพชรมณี ม. 5/8 • ค่ายโอลิมปิก สอวน. (ช่วงที่ 1 ) ระหว่างวันที่ 7 กุมภาพันธ์ – 12 มีนาคม 2549 มีนักเรียนจำนวน 25 คน
กิจกรรมชุมนุม สาขาเคมีรับผิดชอบ 8 ชุมนุม รวมนักเรียน 199 คนเฉลี่ย 25 คนต่อชุมนุม
ศึกษาดูงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีศึกษาดูงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หมวดวิชาเคมีจัดศึกษาดูงานทั้งหมด 4 ครั้ง 7 สถานที่ มีนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 279 คน เฉลี่ย 35 คน/สถานที่
กิจกรรมบรรยายพิเศษทางวิทยาศาสตร์กิจกรรมบรรยายพิเศษทางวิทยาศาสตร์ หมวดวิชาเคมีได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิมาบรรยายทางวิชาการจำนวน 2 ครั้ง มีนักเรียนเข้าฟังทั้งสิ้น 95 คน เฉลี่ย 254 คน/ครั้ง
คลินิกวิชาการ เปิดบริการทั้งสิ้น 68 วัน มีผู้ใช้บริการทั้งหมด 392 คน เฉลี่ย 6 คน / วัน
ผลงานครูสาขาวิชาเคมี • ผลงานการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ • ผลงานวิชาการการวิจัยในชั้นเรียน • การเป็นวิทยากร • การพัฒนาการเรียนการสอน
ผลงานการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ผลงานการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ • นายสรชัย แซ่ลิ่ม นำเสนอผลงานเรื่อง สบู่จากเมล็ดยางพารา โครงการยุววิจัยยางพารา ประจำปี 2548 ของสำนักประสานงานชุดโครงการวิจัย "การพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารา" (สปว. ยางพารา) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา • ได้รับทุนสนับสนุนการทำวิจัย ของโครงการวิทยาศาสตร์ท้องถิ่น สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ประจำปี 2549-50 “เรื่องสมบัติต้านปฏิกิริยาออกซิเดซันของพืชผักสวนครัวกินได้ ในตำบลศาลายา อ.พุทธมลฑล จ.นครปฐม” ซึ่งมีคณะผู้วิจัยดังนี้ นายสรชัย แซ่ลิ่ม สาขาวิชาคมี หัวหน้าโครงการ นางสาวอุษา จีนเจนกิจ สาขาวิชาเคมี ผู้ร่วมวิจัย นายวัลลภ คงนะ สาขาวิชาเคมี ผู้ร่วมวิจัย นางสาวสมฤทัย หอมชื่น สาขาวิชาชีววิทยา ผู้ร่วมวิจัย
ผลงานวิชาการการวิจัยในชั้นเรียน • ศึกษาการนำสื่อมัลติมีเดียจากอินเทอร์เน็ตใช้ร่วมกับการทดลองปฏิบัติการเคมีแบบย่อส่วนวิชาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 (อ.อุษา จีนเจนกิจ อ.สรชัย แซ่ลิ่ม และ อ.วัลลภ คงนะ) • ศึกษาผลการใช้เอกสารประกอบการเรียนแบบสองภาษาในวิชาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 (อ.สรชัย แซ่ลิ่ม และ อ.อุษา จีนเจนกิจ) นำเสนอผลงานการวิจัยในชั้นเรียนในงานการประชุมวิชาการ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ในโรงเรียน (วทร.) ครั้งที่ 16 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันที่ 20-23 มกราคม 2549
การเป็นวิทยากร • นายชัยวัฒน์ เชื้อมั่ง • กลยุทธ์และกระบวนการสร้างการเรียนรู้ บทบาทใหม่ของครูจัดการความรู้มืออาชีพงานมหกรรมจัดการความรู้แห่งชาติ ครั้งที่ 2ระหว่างวันที่ 1-2 ธันวาคม 2548 โดยสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์กรุงเทพมหานคร • กรณีศึกษาการจัดการความรู้ในโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2549 โดยคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ณ ห้องแกรนด์ บอลลูม โรงแรมเชียงใหม่ฮิลล์ จ.เชียงใหม่
การเป็นวิทยากร • นางสาวอุษา จีนเจนกิจ • ประสบการณ์การเรียนการสอนด้วยกระบวนการวิจัยและพัฒนา การสัมมนาวิชาการ เรื่องการปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยการวิจัยและพัฒนา วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2549 ณ ห้องประชุมดารารัตน์ โรงแรมเฟริสท์ กรุงเทพมหานคร
การพัฒนาการเรียนการสอนการพัฒนาการเรียนการสอน • คณะครูสาขาวิชาเคมีทุกคน สร้าง website คนละ 1 website • นางสาวอุษา จีนเจนกิจ และนางสาวศศินี อังกานนท์ ทดลองนำ web site มาใช้ประกอบการเรียนการสอน
การอบรม ศึกษาดูงาน ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ เฉลี่ย 107 วัน / 8 คน เฉลี่ยคนละ 13.4 วัน / ภาคเรียน
การประชุมสาขาวิชาเคมีการประชุมสาขาวิชาเคมี • ในภาคเรียนที่ 2 / 2547 หมวดวิชาเคมีได้ดำเนินการ ประชุมหมวดทั้งหมด 9 ครั้ง เฉลี่ย 2 ครั้ง/เดือน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2548 สาขาวิชาเคมีจัดประชุม 7 ครั้ง
การให้บริการสังคม ต้อนรับแขกต่างประเทศของโรงเรียน บริการให้ยืมอุปกรณ์และฝึกนักเรียนในการจัดกิจกรรมค่ายบำเพ็ญประโยชน์ ต้อนรับคณะผู้มาศึกษาดูงาน ให้ความร่วมมือกับหมวด/งาน ต่างๆ เพื่อพัฒนาองค์กร เผยแพร่แผนการสอน และสื่อการสอน