1 / 73

สำนักงานสหกรณจังหวัดอุตรดิตถ์

แผนกลยุทธ์. สำนักงานสหกรณจังหวัดอุตรดิตถ์. กรมส่งเสริมสหกรณ์. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 1.1 หลักการและเหตุผล. บทที่ 1. บทนำ.

ria-rose
Download Presentation

สำนักงานสหกรณจังหวัดอุตรดิตถ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนกลยุทธ์ สำนักงานสหกรณจังหวัดอุตรดิตถ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  2. 1.1 หลักการและเหตุผล บทที่ 1 บทนำ • การดำเนินโครงการจัดทำแผนกลยุทธ์สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ ในครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ข้าราชการลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการ ดำเนินการจัดทำแผนกลยุทธ์ (แผน 3 ปี) ซึ่งจะเป็นไปในลักษณ์ของการจัดทำแผนพัฒนา โดยศึกษาถึงปัจจัยสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก ที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด โดยทุกฝ่ายที่มีความเกี่ยวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วม ซึ่งนำไปสู่การสร้างกรอบทิศทางการพัฒนาองค์กร เพื่อกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และกลยุทธ์ในการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดให้เกิดผลสัมฤทธิ์ สามารถสร้างความพึงพอใจให้เกิดแก่ผู้รับบริการได้

  3. 1.2.1 เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมดำเนินงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด • 1.2.2 เพื่อกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และกลยุทธ์ในการปฏิบัติงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ • 1.2.3 เพื่อจัดทำแผนกลยุทธ์สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ (แผน 3 ปี) 1.2 วัตถุประสงค์

  4. 1.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • 1.3.1 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ จะมีกรอบแนวทางในการพัฒนาการ ปฏิบัติงานในระยะเวลา 3 ปี ซึ่งกรอบทิศทางการดำเนินงานจะมีความสอดคล้อง กับปัจจัยสภาพแวดล้อม • 1.3.2 กรอบทิศทางการดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์ของสำนักงานฯ จะส่งผลให้ การปฏิบัติงานมุ่งสู้ผลสัมฤทธิ์มากยิ่งขึ้น สามารถสร้างความพึงพอใจแก่ ผู้รับบริการได้ • 1.3.3 แผนกลยุทธ์จะช่วยพัฒนาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการให้มีระบบงาน และขั้นตอนในการ ปฏิบัติงานที่ชัดเจน เอื้ออำนวยต่อการปฏิบัติงานอันจะนำไปสู่การให้บริการที่ เป็นที่พึงพอใจแก่ผู้รับบริการ • 1.3.4 กระบวนการจัดทำแผนกลยุทธ์เปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม ในการกำหนดกรอบทิศทางการพัฒนา อันจะนำไปสู่การปฏิบัติงานให้สามารถ บรรลุวิสัยทัศน์ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดได้

  5. การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อม การเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิจากสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ การเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ โอกาส/อุปสรรค จุดอ่อน/จุดแข็ง วิสัยทัศน์ การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ แผนกลยุทธ์ 1.4 วิธีการศึกษา • 1.4.1 การจัดทำแผนกลยุทธ์สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ จะดำเนินการตามกระบวนการในรูปที่ 1 และมีการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อม ดังรายละเอียดในรูปที่ 2 ภาพที่ 1 กระบวนการจัดทำแผนกลยุทธ์สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์

  6. ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก นโยบายรัฐ/การเมือง กฎหมาย ปัจจัยสภาพแวดล้อมดำเนินการ กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน • - ภารกิจ/ความรับผิดชอบ/ตัวชี้วัดการปฏิบัติงาน • โครงสร้างการบริหารงาน/ระบบงาน • แผนงาน/โครงการ - สำนักงาน • วัสดุ/อุปกรณ์ - งบประมาณ • ข้าราชการ - ลูกจ้างประจำ/พนักงานราชการ • ระเบียน/วิธีปฏิบัติงาน - การติดตามประเมินผล หน่วยงานรัฐอื่น สหกรณ์/ขบวนการสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร เทคโนโลยี/นวัตกรรม เศรษฐกิจ/สังคม/วัฒนธรรม ภาพที่ 2 ปัจจัยสภาพแวดล้อมที่นำมาวิเคราะห์ใยการจัดทำแผนกลยุทธ์สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์

  7. บทที่ 2 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อม 2.1 การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก • ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมในที่นี่จะชี้ให้เห็นโอกาส อุปสรรค จุดแข็ง และจุดอ่อนของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ ซึ่งจะนำไปสู่การกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ และกลยุทธ์ เพื่อใช้ในการจัดทำแผนกลยุทธ์ต่อไป • การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกในที่นี้ประกอบด้วย การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมทั่วไป ได้แก่ กฎหมาย นโยบายรัฐ เศรษฐกิจ/สังคม/วัฒนธรรม และเทคโนโลยี/นวัตกรรม และการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมดำเนินการ ได้แก่ กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ หน่วยงานรัฐอื่น ๆ สหกรณ์/ขบวนการสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร ซึ่งผลการวิเคราะห์มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้

  8. ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมทั่วไปที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์

  9. ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมทั่วไปที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ (ต่อ)

  10. ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมดำเนินการที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์

  11. ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมดำเนินการที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ (ต่อ)

  12. ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมดำเนินการที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์(ต่อ)

  13. ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมดำเนินการที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ (ต่อ)

  14. 2.2 การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน • การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน ได้แก่ ภารกิจ/ความรับผิดชอบ แผนงาน โครงสร้างการบริหารงาน/ระบบงาน งบประมาณ ระเบียบ/วิธีปฏิบัติ บุคลากรสำนักงาน วัสดุอุปกรณ์/เทคโนโลยี และการติดตามประเมินผล ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน ที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์

  15. ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน ที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ (ต่อ)

  16. ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน ที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ (ต่อ)

  17. ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน ที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ (ต่อ)

  18. ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน ที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ (ต่อ)

  19. บทที่ 3 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ • จากการวิเคราะห์สถานการณ์การดำเนินงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ ดังรายละเอียดที่กล่าวไว้ในเรื่องผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อม และผลการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกันระหว่างข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการในองค์กร ซึ่งได้ดำเนินการตามที่กำหนดไว้ในขั้นตอนการจัดทำแผนกลยุทธ์ สรุปประเด็นในเรื่องวิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ใน 3 ปี (2547-2549) งบประมาณข้างหน้าไว้ ดังนี้ วิสัยทัศน์ • “ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นผู้นำในการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้สามารถพึ่งตนเองตลอดจนเป็นที่พึ่งของมวลสมาชิกได้ ”

  20. พันธกิจ • ส่งเสริมพัฒนาและคุ้มครองระบบสหกรณ์ให้เข้มแข็งและเป็นไปตามกฎหมายสหกรณ์ • ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ให้แก่ประชาชนทั่วไป • ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเกี่ยวกับด้านการจัดตั้ง การบริหารการจัดการองค์กรธุรกิจ การตลาดและการเชื่อมโยง • ส่งเสริม สนับสนุนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการองค์กร และดำเนินธุรกิจให้กับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร • บูรณาการแผนพัฒนางานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร • ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรให้ได้คุณภาพและมาตรฐาน • ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ • พัฒนาบุคลากรและการบริหารจัดการภายในองค์กร

  21. พันธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย กลยุทธ์ และหน่วยงานที่รับผิดชอบ ตารางที่ 4 พันธกิจที่ 1ส่งเสริมพัฒนาและคุ้มครองระบบสหกรณ์ให้เข้มแข็งและเป็นไปตามกฎหมายสหกรณ์

  22. ตารางที่ 4 พันธกิจที่ 1ส่งเสริมพัฒนาและคุ้มครองระบบสหกรณ์ให้เข้มแข็งและเป็นไปตามกฎหมายสหกรณ์ (ต่อ)

  23. ตารางที่ 5พันธกิจที่ 2ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ให้แก่ประชาชน

  24. ตารางที่ 6พันธกิจที่ 3 ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเกี่ยวกับด้านการจัดตั้ง การบริหารจัดการองค์กรธุรกิจ การตลาดและการเชื่อมโยง

  25. ตารางที่ 7พันธกิจที่ 4ส่งเสริม สนับสนุนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการองค์การ และดำเนินธุรกิจให้กับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

  26. ตารางที่ 7พันธกิจที่ 4ส่งเสริม สนับสนุนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการองค์การ และดำเนินธุรกิจให้กับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (ต่อ)

  27. ตารางที่ 8พันธกิจที่ 5 บูรณาการแผนพัฒนางานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

  28. ตารางที่ 9พันธกิจที่ 6 ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร ให้ได้คุณภาพและมาตรฐาน

  29. ตารางที่ 10 พันธกิจที่ 7ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ

  30. ตารางที่ 11พันธกิจที่ 8พัฒนาบุคลากรและการบริหารจัดการภายในองค์การ

  31. ตารางที่ 11พันธกิจที่ 8พัฒนาบุคลากรและการบริหารจัดการภายในองค์การ (ต่อ)

  32. แผนกลยุทธ์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 - 2555 วิสัยทัศน์ พันธกิจ • “ เป็นองค์กรหลักที่มุ่งพัฒนาระบบสหกรณ์ให้เป็นพลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ สู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข” • สร้างค่านิยมและผลักดันระบบสหกรณ์ให้มีส่วนร่วมในการสร้างสังคมอยู่เย็นเป็นสุขตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • สนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในการให้บริการแก่สมาชิกให้เกิดความพึงพอใจ • สนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรร่วมกับคู่ค้าในการดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณภและเที่ยงธรรมตามความต้องการของลูกค้า

  33. พันธกิจ (ต่อ) • สนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีส่วนร่วมกับชุมชนในการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม • พัฒนาบุคลากรในระบบสหกรณ์ให้ร่วมมือและมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ และการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ให้พึ่งพาตนเองได้และช่วยเหลือกันและกันมากขึ้น รวมทั้งการจัดที่ดินในเขตนิคมสหกรณ์ • พัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง รวมทั้งเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ • สนับสนุนการดำเนินธุรกิจและการเชื่อมโยงเครือข่ายกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ ภายใต้กรอบของกฎหมาย • พัฒนาระบบการบริหารราชการของกรมส่งเสริมสหกรณ์ให้เกิดธรรมาภิบาล และมีสมรรถนะสูง • พัฒนาบุคลากรของกรมส่งเสริมสหกรณ์ให้มีความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสุขในการปฏิบัติงาน

  34. เป้าประสงค์ มิติ : ประสิทธิผล • มิติ : คุณภาพการให้บริการ • มีส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ • มีส่วนร่วมในการสร้างวัฒนธรรมของประเทศตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • สนับสนุนการบรรลุแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) • การใช้ระบบสหกรณ์พัฒนาชุมชนและท้องถิ่นให้พึ่งพาตนเองได้ • พัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิก • ตอบสนองความต้องการของลูกค้าและตลาด

  35. มิติ : ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ • สร้างแนวคิดใหม่ต่อบุคลากรในระบบสหกรณ์ • การปฏิบัติตามกรอบของกฎหมาย • พัฒนาระบบสหกรณ์อย่างเป็นกระบวนการ • ปรับปรุงการบริหารด้านเงินทุน • สร้างความเข็มแข็งในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร • การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ที่เกี่ยวข้อง

  36. มิติ : การพัฒนาองค์กร • บริหารทิศทางกรมฯให้บรรลุผล • พัฒนาระบบธรรมาภิบาล • พัฒนาองค์ความรู้และระบบสารสนเทศเทคโนโลยี • พัฒนาระบบงานภายในกรมฯให้มีสมรรถนะสูง • สร้างวัฒนธรรมองค์กร • พัฒนาบุคลากร (มุ่งไปที่ตัวบุคคล) • ปรับปรุงการบริหารบุคลากร

  37. ตัวชี้วัด มิติ : ประสิทธิผล • สัดส่วนของมูลค่าเพิ่มสินค้า/บริการในระบบสหกรณ์ • จำนวนแรงงงานในระบบสหกรณ์มีงานทำเปรียบเทียบกับภาพรวมของประเทศ • จำนวนสหกรณ์ที่เข้าร่วมกิจกรรมสารธารณประโยชน์ในสังคม • สัดส่วนการออมในระบบสหกรณ์ : การออมในประเทศ • จำนวนผู้มีส่วนร่วมในกระบวนการจัดการองค์ความรู้ • ร้อยละของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ • ร้อยละของสมาชิกสหกรณ์ที่มีความอยู่ดีมีสุข

  38. มิติ : คุณภาพการให้บริการ • ร้อยละของสมาชิกที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมของสหกรณ์ • ร้อยละของสมาชิกที่เพิ่มขึ้นในสหกรณ์ • จำนวนกิจกรรมของการมีส่วนร่วมของสหกรณ์ต่อชุมชน • ร้อยละของสมาชิกที่ดำเนินชีวิตตามแนวหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • จำนวนกิจกรรมสวัสดิการของสหกรณ์ต่อสมาชิก • จำนวนสหกรณ์ที่มีสินค้าผ่านเกณฑ์คุณภาพและมาตรฐาน(เฉพาะสินค้า แปรรูป) • จำนวนสหกรณ์ที่มีคุณภาพการบริการที่ดีสมาชิกมีความพึงพอใจร้อยละ 60 • จำนวนสหกรณ์ที่มีภาพลักษณ์ที่ดี(ต่อคู่ค้าในแง่การทำธุรกิจ)

  39. มิติ : ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ • จำนวนสมาชิกที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 60 ต่อปี • จำนวนสหกรณ์ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี • จำนวนข้อร้องเรียนต่อนายทะเบียนสหกรณ์ลดลงร้อยละ 10 ต่อปี • จำนวนสหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องลดลงร้อยละ 10 ต่อปี • จำนวนสมาชิก/ผู้แทนสมาชิกที่เข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจำปีเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี • อัตรากำไรสุทธิจากการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ต่อปี • อัตราการเพิ่มทุนดำเนินงานจากแหล่งทุนภายในของสหกรณ์เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี

  40. มิติ : ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ (ต่อ) • อัตราการเพิ่มการฝากเงินกับสหกรณ์เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี • อัตราการเพิ่มของมูลค่าทางธุรกิจสหกรณ์เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี • จำนวนสินค้า/ผลิตภัณฑ์ของสหกรณ์ได้การรับรองมาตรฐาน • จำนวนโรงเรียนที่นำกิจกรรมสหกรณ์มาใช้ในการเรียนการสอน • จำนวนเครือข่าย องค์กร หน่วยงาน ที่มีความร่วมมือปฏิบัติภารกิจร่วมกัน • ร้อยละของสมาชิกนิคมสหกรณ์ได้รับเอกสารสิทธิ์ในที่ดินทำกิน

  41. มิติ : การพัฒนาองค์กร • จำนวนแผนบริหารทิศทางการส่งเสริมสหกรณ์ในระดับสหกรณ์ กรม ประเทศ • ร้อยละของข้อทักท้วงจากหน่วยงานตรวจสอบกลางที่เกี่ยวข้อง เช่น สตง. ลดลงเมื่อเทียบกับปีปัจจุบัน • จำนวนคลังความรู้ • จำนวนงานวิจัยที่นำไปเผยแพร่และใช้ประโยชน์ • จำนวนระบบสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ • จำนวนระบบงานที่กระจายอำนาจ • จำนวนแผนการปรับโครงสร้างกรมฯ

  42. มิติ : การพัฒนาองค์กร (ต่อ) • ร้อยละของบุคลากรที่ผ่านการอบรมตามแผนพัฒนาวัฒนธรรมองค์กร • ร้อยละของบุคลากรที่ผ่านการพัฒนา • ร้อยละข้อร้องเรียนของบุคลากรลดลงเมื่อเทียบกับปีปัจจุบัน

  43. กลยุทธ์ มิติ : ประสิทธิผล • การขับเคลื่อนระบบสหกรณ์กับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับประเทศ • เพิ่มขีดความสามารถในการสร้างงานในระบบสหกรณ์ • รณรงค์ให้เกิดการมีส่วนร่วมของคนในสังคม/ชุมชน • สร้างนิสัยรักการออมในหมู่สมาชิกและชุมชน • สร้างวาระแห่งชาติการออมในระบบสหกรณ์ • ผลักดันให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สมาชิกดำเนินการตามหลักปรัญชาของเศรษฐกิจพอเพียง • สร้างกลไกในการประเมินผลของระบบสหกรณ์ที่ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศโดยรวม

  44. มิติ : ประสิทธิภาพการให้บริการ • เสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมของสหกรณ์ต่อชุมชนและท้องถิ่น • เสริมสร้างการดำเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืน • สนับสนุนให้สหกรณ์สร้างกิจกรรมสวัสดิการแก่สมาชิกให้เห็นความแตกต่างกับบุคคลทั่วไป • เพิ่มขีดความสามารถในการจัดการธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร • พัฒนาคุณภาพการส่งมอบคุณค่าสหกรณ์ (การบริหาร Value chain) • การสื่อสารงานสหกรณ์เชิงรุกและการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสหกรณ์แก่สาธารณะชน

  45. มิติ : ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ • สร้างภาพลักษณ์ของงานสหกรณ์ให้เป็นที่เชื่อถือและได้รับการยอมรับจากบุคลากรในระบบสหกรณ์ • สนับสนุนและส่งเสริมให้สหกรณ์ดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสมาชิกในกิจกรรม • เสริมสร้างศักยภาพในการดำเนินงานของสหกรณ์อย่างเป็นกระบวนการ (เครือข่ายความรู้ ความร่วมมือ และประสบการณ์) • เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบการเงินของสหกรณ์ • สร้างความเข้มแข็งในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร • สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการพัฒนาระบบงานสหกรณ์

  46. มิติ : ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ (ต่อ) มิติ : การพัฒนาองค์กร • สร้างวัฒนธรรมให้เกิดการเรียนรู้ในระบบสหกรณ์ • เพิ่มประสิทธิภาพการออกเอกสารสิทธิ์ในที่ดินทำกินในเขตนิคมสหกรณ์ • สร้างแผนบริหารทิศทางสหกรณ์ระยะสั้น • สร้างแผนพัฒนาการสหกรณ์ระยะกลาง • พัฒนาระบบควบคุมภายใน • บริหารจัดการอย่างโปร่งใส • พัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้

  47. มิติ : การพัฒนาองค์กร • พัฒนางานวิจัยเพื่อนำไปใช้อย่างมีประสิทธิผล • พัฒนาระบบสารสนเทศแห่งการเรียนรู้ • พัฒนาระบบงานภายในกรมฯ ให้มีสมรรถนะสูง • สร้างวัฒนธรรมองค์กร • พัฒนาทรัพยากรบุคคลภายใต้แผนปฏิบัติราชการกรมฯ

  48. สรุปแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2552 – 2555) กรมส่งเสริมสหกรณ์ 1. มิติประสิทธิผล • กลยุทธ์ที่ 1.1.1 การขับเคลื่อนระบบสหกรณ์กับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับประเทศ • โครงการสร้างเครื่องมือและกำหนดมาตรฐานวัดมูลค่าของสินค้าและบริการในระบบสหกรณ์ • โครงการเก็บรวบรวมข้อมูลนำไปวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำข้อมูลไปจัดทำแผนพัฒนาระบบสหกรณ์แบบมีส่วนร่วม • โครงการจัดทำแผนพัฒนาแบบมีส่วนร่วมเพื่อผลักดันในการเพิ่มมูลค่าของสินค้าและบริการสหกรณ์ • โครงการผลักดันแผนพัฒนาแบบมีส่วนร่วมในการเพิ่มมูลค่าของสินค้าและบริการสหกรณ์สู่การปฏิบัติ

  49. กลยุทธ์ที่ 1.2.1 เพิ่มขีดความสามารถในการสร้างงานในระบบสหกรณ์ • โครงการจัดทำแผนพัฒนาอาชีพเพื่อส่งเสริมการมีงานทำในระบบสหกรณ์ • โครงการเพิ่มการจ้างงานในระบบสหกรณ์เพื่อส่งเสริมการมีงานทำในสหกรณ์ • กลยุทธ์ที่ 1.3.1 รณรงค์ให้เกิดการมีส่วนร่วมของคนในสังคม/ชุมชน • โครงการเผยแพร่อุดมการณ์ หลักการ วิธีการสหกรณ์ในชุมชนเพื่อพัฒนาระบบประชาธิปไตยอันเป็นรากฐานสำคัญของประเทศ • โครงการส่งเสริมและสร้างชุมชนต้นแบบระบบสหกรณ์(เมืองสหกรณ์)โดยบูรณาการกับหน่วยงานต่าง ๆ • โครงการส่งเสริมและสนับสนุนเวทีชาวบ้านในระบบกลุ่มเกษตรกร(สหกรณ์)ในทุกจังหวัด

  50. กลยุทธ์ที่ 2.1.2 สร้างวาระแห่งชาติการออมในระบบสหกรณ์ • โครงการส่งเสริมและพัฒนาการออมในระบบสหกรณ์ • กลยุทธ์ที่ 2.2.1 ผลักดันให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สมาชิกดำเนินการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • โครงการสร้างเครื่องมือและผลักดันการประเมินเพื่อให้ทราบสถานการณ์ของตนเองของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/สมาชิก • โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานกลุ่มเกษตรกรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง • โครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

More Related