1.02k likes | 1.05k Views
2 Discrete-time Signals and Systems สัญญาณและระบบแบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา. รศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์. เป้าหมาย. นศ เข้าใจสัญญาณ (Signals) และระบบแบบไม่ต่อเนื่องทางเวลาที่เป็นเชิงเส้น (Discrete-Time Linear Shift-Invariant Systems)
E N D
2Discrete-time Signals and Systems สัญญาณและระบบแบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา รศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
เป้าหมาย • นศ เข้าใจสัญญาณ (Signals) และระบบแบบไม่ต่อเนื่องทางเวลาที่เป็นเชิงเส้น (Discrete-Time Linear Shift-Invariant Systems) • นศ รู้จักทฤษฎีการชักตัวอย่างเบื้องต้น • นศ เข้าใจหลักการประสาน (convolution) EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Continuous v.s. Discrete-time Signals ทฤษฎี DSP เหมือนกับทฤษฎี Signals and Systems แต่ DSP เน้นการประมวลสัญญาณในแบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา ที่เหมาะแก่การประมวลผลบนคอมพิวเตอร์หรือโดยตัวประมวลผล EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Discrete-Time Continuous Amplitude • ในคอร์สนี้ เราสนใจเฉพาะสัญญาณที่เป็น Discrete-Time, Continuous Amplitude เท่านั้น EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
สัญญาณแบบอื่นๆ EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
t Sampling • การชักตัวอย่างสัญญาณ x(t) จะได้ x(n) • ผลลัพท์คือ x(n): สุ่มด้วยความถี่= ... EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Combination of Sampling • สัญญาณ x(n) = สัญญาณสุ่ม “s(n)” คูณสัญญาณ “x(t)” • S(n) ประกอบจากส่วนย่อย คือ อิมพัลส์ t n n T EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Elements of the Sampling Signal • S(n) นั้นประกอบจากอิมพัลส์ต่างการเลื่อน n + s(n) n = + n T n + n T 2T 3T EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
An Impulse is Delta Function • อิมพัลส์ คือ เดลต้าฟังก์ชัน โดย ให้ค่า “1” เมื่อ n=0 และ ให้ค่า “0” เมื่อ n เป็นค่าอื่นๆ • เขียนเป็น 1 อิมพัลส์ n 0 EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Shifted Delta Function • อิมพัลส์นำมารวมกันได้เป็น s(n) ได้จากการเลื่อนค่า อิมพัลส์ที่ไม่มีการเลื่อนค่า 1 n 0 1 อิมพัลส์ที่ถูกเลื่อนไปช่วงเวลา 1 ลำดับ n 1 0 EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Summing of Shifted Delta Function n + + n + + = n + + n 0 T 2T 3T n EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Sampling Signals=Summingof Delta function • สัญญาณที่เป็นสัญญาณสุ่มนั้นประกอบด้วย เดลต้าฟังก์ชันที่มีค่าการเลื่อนแตกต่างกัน • หรือ เขียนใหม่เป็น EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
t Discrete-time Signal x(n) • x(n) สร้างจาก ผลคูณของ x(t) และ s(n) เมื่อ t=kT … n = n EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
DSP System Block Diagram • ระบบ DSP ที่ง่ายที่สุด แสดงดังข้างล่าง A/D DSP Processor D/A EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
A/D Part in DSP • ส่วน A/D A/D DSP Processor D/A Hold Quantizer Sample and Hold A/D Converter EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
A/DConverter • ระบบ DSP มีส่วนประกอบ A/D Converter Hold Quantizer DSP Processor D/A Sample and Hold A/D Converter EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Discrete-Time Systems • ระบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา เขียนแทนด้วย • X(n) คือ สัญญาณ อินพุท • Y(n) คือ สัญญาณ เอาท์พุท • T[.] คือ ระบบ (System) หรือ ตัวจัดการสัญญาณ (processor) • ผลลัพท์ y(n) ของการกระทำของ x(n) และ T[.] ได้จากกระบวนการประสาน (Convolution) EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Example 2.1: System 1 • Example 2.2.1 from Proakis’s Text • จงหา y(n) ในกรณี EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
สังเกต เครื่องหมาย แสดงถึง n=0 อยู่ ณ ตำแหน่งนั้น Example 2.1: System 2 EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Example 2.1: System 3 EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Example 2.1 : System 4 • Accumulator EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
ระบบเชิงเส้นไม่แปรตามการเลื่อน (Linear Shift-invariant (LSI) Systems) • เชิงเส้น (Linear) หมายถึงถ้า ระบบ T[ ] ให้ผลลัพธ์เป็น • เมื่อเปลี่ยนอินพุทเป็นดังรูป EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Example 2.2 : Linear I • จงหาว่าระบบข้างล่างนี้ ระบบใดเป็นหรือไม่เป็นเชิงเส้น EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Example 2.2: Linear 2 เชิงเส้น EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Example 2.2: Linear 3 เชิงเส้น EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Example 2.2: Linear 4 ไม่เชิงเส้น EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Example 2.2: Linear 5 ไม่เชิงเส้น EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Example 2.2: Linear 6 ไม่เชิงเส้น EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Shift-invariant 1 • ไม่แปรตามการเลื่อน (Shift-invariant) หมายถึง หาก y(n) เป็นผลตอบจาก x(n) ถ้า x(n) ถูกเลื่อนไป k ดู y(n) เป็น y(n,k) EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Shift-invariant 2 • ลองเลื่อน y(n) ไป k จะได้ y(n-k) และหาก • ระบบจะเป็นแบบไม่แปรตามการเลื่อน (Shift-invariant) • ระบบจะเป็นแบบแปรตามการเลื่อน (Shift-varying) EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Example 2.3: Shift-Invariant 1 • จงหาว่าระบบใดเป็น Shift-invariant EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Example 2.3: Shift-Invariant 2 • เมื่อเลื่อน y(n) ที่ได้จาก x(n) ไป k แซมเปิ้ล Shift-invariant EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Example 2.3: Shift-Invariant 3 • เมื่อเลื่อน y(n) ที่ได้จาก x(n) ไป k แซมเปิ้ล สังเกตว่าเฉพาะ ค่า n ใน x(n) ถูกเปลี่ยนเป็น n-k Shift-varying EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Example 2.3: Shift-Invariant 4 • เมื่อเลื่อน y(n) ที่ได้จาก x(n) ไป k แซมเปิ้ล Shift-varying EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Example 2.3: Shift-Invariant 5 • เมื่อเลื่อน y(n) ที่ได้จาก x(n) ไป k แซมเปิ้ล Shift-varying EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
สมการผลต่าง Difference Equation • หรือ สมการผลต่างแบบค่าสัมประสิทธิ์คงที่ Linear Constant–Coefficient Difference Equation (LCCDE) • สมการของระบบจะเขียนในรูปทั่วไปของสมการผลต่าง EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
สมการผลต่างแบบวนซ้ำ Recursive Difference Equation • คือ การ “วน” เอาท์พุท y(n-l) มาคำนวณ y(n) EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
สมการความแตกต่างแบบไม่วนซ้ำ Nonrecursive Difference Equation EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Example 2.4 • ในระบบการคำนวณเงินฝากที่มีดอกเบี้ยในแต่ละเดือนเท่ากับ 1 % โดยที่ x(n) คือเงินต้นที่บวกเพิ่มเข้าไป ณ เดือนที่ n และเงินที่คำนวณได้ คือ y(n) EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Example 2.4 (ต่อ) EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Example 2.5 • จงคำนวณสมการความแตกต่างของระบบการคำนวณมุมการเคลื่อนที่ของดาวเทียมเป็น EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Example 2.5 (ต่อ) EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
สมการอันดับที่หนึ่ง EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
n=0, n=1 • n=0 • n=1 EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
n=2 EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
ให้ y(-1) =0 EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
ให้ bm คือ ผลตอบสนองอิมพัลส์ (Impulse Response) h(n) ของระบบ • แทนค่า EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
สมการความแตกต่าง และ สมการตัวกรอง FIR • โดยทั่วไปเราเขียนระบบ FIR ในรูปของผลตอบสนองอิมพัลส์ (Impulse Response ) ได้ดังข้างล่างนี้ EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon