250 likes | 401 Views
“One Tablet per Child”. Ministry of Education. ONE TABLET PER CHILD PROJECT. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. การสนับสนุนการใช้งาน Logistic Call center 1111 Customer Care Services โครงข่าย ICT โครงข่าย Wifi Phase ของการติดตั้ง ตัวเครื่อง Tablet
E N D
“One Tablet per Child” Ministry of Education
ONE TABLET PER CHILD PROJECT กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การสนับสนุนการใช้งาน Logistic Call center 1111 Customer Care Services โครงข่าย ICT โครงข่าย Wifi Phase ของการติดตั้ง ตัวเครื่อง Tablet ระบบจัดการ (E-Tims) Edustore ระบบ security ระบบ cloud การเตรียม Digital Content ลงใน Tablet การบริหารโครงการ (PMO) • การใช้ Tabletเพื่อการเรียนการสอน • ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน ด้าน ICT 3. หลักสูตรและเนื้อหาเพื่อ พัฒนามาตรฐานการเรียนรู้ 4. การพัฒนา Digital Content • การเตรียมครู นักเรียน ผู้ปกครอง
หนังสือเรียน 5 วิชาในรูป e-book 336 Learning Objects พัฒนาการนักเรียน ต้นปี-ปลายปี 1. การใช้ Tablet เพื่อการเรียนการสอน สื่อหลัก Mile Stone สื่อเสริม
การประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนการประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน • Formative Assessment • การประเมินผลระหว่างเรียน • เพื่อปรับการสอนและพัฒนาต่อยอดผู้เรียน • Summative Assessment • การประเมินผลรวมเมื่อจบภาคเรียน • เพื่อตัดสินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
โครงสร้างพื้นฐาน ทางเทคนิค การจำแนกประเภทโรงเรียน จำแนกตาม Infrastructure ด้าน ICT 2. โครงสร้างพื้นฐานทางเทคนิค
1.ความสามารถเชื่อมต่อ internet การเข้าถึงBroadband ในพื้นที่ ปัจจุบันประเทศไทยมีโรงเรียนชั้น ป 1 =32,043 โรงเรียน ประเภท 1Leased Line (IP VPN) = 1,495 โรงเรียน ประเภท 2 ADSL (DSL VPN) = 10,113 โรงเรียน ประเภท 3 IP Star = 19,972 โรงเรียน ประเภท 4 ไม่มีอินเตอร์เน็ต = 463โรงเรียน
แผนการขยายและเพิ่มความเร็ว Internet www.themegallery.com
Leased Line &WIFI ความเร็วเพียงพอ • Router เพียงพอ • Visualizer/Projector • ห้องเรียนขนาดใหญ่ • สอน Onlineทั้งครูและนักเรียน ผ่าน Visualizer/Projector 2. Equipment มีความพร้อมปานกลาง B = 10,113โรงเรียน มีความพร้อมมาก A = 1,495 โรงเรียน ขาดความพร้อม C =20,435โรงเรียน โรงเรียนที่มีความพร้อมมาก • ADSL &Router จำกัด • ไม่มี Visualizer /Projector • ห้องเรียนขนาดกลาง • สอน Onlineได้เฉพาะครูนักเรียน Online ได้จำกัด • ไม่มี Internet หรือมีระบบ IP Star • ไม่มี WIFI • ไม่มี Visualizer/ Projector • ห้องเรียนขนาดเล็ก • สอนOffline ส่งการบ้านด้วยเครื่อง
Step 2 Step 1 Step 2 • ประเมิน • สมรรถนะครู ป.1ด้าน ICT * • โดยจำแนกครู 2กลุ่ม • มีเพียงพอ • มีไม่เพียงพอ • ครูมีสมรรถนะ • ICT ไม่เพียงพอ • Workshop 4 วัน • ใช้ทีมพี่เลี้ยงช่วย • เรียนรู้ทางไกล • ประเมินติดตามผล • สร้างเครือข่ายเพื่อนช่วยเพื่อน • ครูมีสมรรถนะ • ICT เพียงพอ • Workshop 4 วัน • เป็นพี่เลี้ยงครูอื่น • เรียนรู้ทางไกล • ประเมินติดตามผล 4. สมรรถนะครูด้าน ICT *ใช้แบบประเมินสมรรถนะด้าน ICT ด้วยตนเองของโครงการโรงเรียนในฝัน
หลักสูตรและสื่อการอบรมหลักสูตรและสื่อการอบรม แผนการสอน Day1-15 (เตรียมความพร้อม ภาษา วินัย สังคม อื่นๆ) เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยแสดงขั้นตอนการใช้ Tablet และการเข้าถึง Learning Object 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 100 เรื่อง แผนการสอน Day16-20 (เตรียมพร้อม สร้างความคุ้นเคยกับ Tablet บูรูณาการกับสาระหลักสูตร คณิตศาสตร์81 เรื่อง วิทยาศาสตร์ 47 เรื่อง แผนการสอน Day21-200 (จัดการเรียนรู้ 8 ตามหลักสูตร เน้น Literacy & Numeracy การใช้สื่อต่างกับ Tablet ) สังคมศึกษา 70 เรื่อง ภาษาอังกฤษ36 เรื่อง
แผนการพัฒนา Digital Content อย่างต่อเนื่อง 3 3 Strategy 3 2 1 First 3 Months Third 3 Months Second 3 Months มิถุนายน- สิงหาคม มิถุนายน-กุมภาพันธ์ มิถุนายน-พฤศจิกายน
แผนการพัฒนา Digital Content อย่างต่อเนื่อง ป.1 ป.1 + ป.2 ป.1 + ป.2
แผนการพัฒนา Digital Content อย่างต่อเนื่อง 3 3 Strategy 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 Learning Object 5 วิชา = 336 LOs หลักสูตร 5 วิชาE-Book 8 เล่ม First 3 Months มิถุนายน - สิงหาคม
แผนการพัฒนา Digital Content อย่างต่อเนื่อง 3 3 Strategy 2 มิถ • เชิญผู้ประกอบการ/กลุ่มอาสาสมัคร ทำCSR เพื่อสร้างทุนทางปัญญาให้กับประเทศ Free App. ซื้อ LO เพิ่ม สื่อในประเทศ และต่างประเทศ ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1 และปีที่ 2 Second 3 Months ุนายน- พฤศจิกายน
แผนการพัฒนา Digital Content อย่างต่อเนื่อง 3 3 Strategy 3 • Best Practices • จากการปฏิบัติจริงในชั้นเรียน • การประกวดสื่อและ • แผนการสอนครู ป.1-2 ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1 และปีที่ 2 • การขยายผล โดยจ้างทำLOBest Practices • วิธีการสอนที่ชนะเลิศแต่ละวิชา • ชั้น ป.1-2 Third 3 Months มิถุนายน- กุมภาพันธ์
แผนการพัฒนาบุคลากร 4 1 ผู้ปกครองนักเรียน วิทยากรหลัก 100คน *เมื่อได้รับเครื่องทดลอง 16 - 31 พ.ค. 55ปฐมนิเทศผู้ปกครองพร้อมนักเรียน * เงื่อนไข เมื่อ Tablet ถึงนักเรียน 2 – 4 เม.ย. 55 ครู ป.1 ทุกคน ผู้สนับสนุนด้านเทคนิค ร.ร. ละ 1 คน 1- 31 พ.ค. 55*เมื่อ Tablet ถึงโรงเรียน วิทยากรแกนนำ 1,000 คน * เมื่อได้รับเครื่องทดลอง สพฐ. 915 คน หน่วยงานอื่น 85 คน 2 ศธ.46,498 คน/30,630 ร.ร นอกสังกัด 3,017 คน/1,413 ร.ร. 3 19 – 23 เม.ย. 55 ภาคกลาง/ตะวันออก 27 เม.ย. -1 พ.ค. 55 ภาคเหนือ/ภาคใต้ ภาคอีสานตอนบน/ภาคอีสานตอนล่าง
เอกสาร/สื่อการอบรม 1. เครื่อง Tablet 2. คู่มือการฝึกอบรมครู กรอบเนื้อหาเอกสาร/สื่อการอบรม- ความรู้เบื้องต้น การใช้งานทั่วไป วิธีการดูแลรักษา- Tablet กับการออกแบบการเรียนรู้- การปรับแผนการจัดการเรียนรู้ เมื่อใช้ Tablet- การใช้ Learning Object ในการใช้เป็นสื่อเสริม - แผนการจัดการเรียนรู้ 200 วัน - แบบประเมินสมรรถนะครูด้าน ICT 3. แนวทางบริหารจัดการคอมพิวเตอร์พกพาในห้องเรียน คู่มือการใช้งานเบื้องต้น/สื่อวีดิทัศน์ สำหรับผู้ปกครอง 5. คู่มือการใช้งานเบื้องต้นสำหรับนักเรียน
1.ข้อมูลส่งให้ผู้ผลิต(ศธ.ส่งให้ภายใน 23 เมษายน 2555) • รหัส สพป.4 หลัก • ชื่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา (สพป.) 183 เขต • Address + zip code • จำนวนนักเรียนทั้งหมดในแต่ละเขต • 2.ข้อมูลจากผู้ผลิต/โรงงานให้ประเทศไทยพร้อม file • (MICT ส่งให้ภายใน 7 วันหลังจากได้รับข้อมูลจาก ศธ.) • Serial number • Mac Address • 3.ข้อมูลที่สพป.ใช้ลงทะเบียน (3 วันก่อนทำการแจกของให้โรงเรียน) • Serial number • Mac Address • รหัสโรงเรียน 8 หลัก + address+ zip code • ID นักเรียน 13 หลัก(นร.ไม่มีสัญชาติ ใช้ Code G+เลข 12 หลัก) • ชื่อภาษาไทย / ชื่อภาษาอังกฤษ • 4.ตรวจสอบข้อมูลที่โรงเรียนใช้ลงทะเบียน
เครื่องทดลอง 2000 • เครื่องสำหรับครู ป.1=50,000 • Tablet860,000 เครื่อง • หายไป 192,354+spare 3% • ต้องซื้อ 466 ล้าน • 1% buffer • จากประสบการณ์ operator • ควรมีจำนวนสำรอง 3 % = • 717,646 = 21,530 เครื่อง • ปัจจุบันมี 1% = 7,177 • ต้องเพิ่ม 14,353 = 34.4 ล้านบาท • เครื่องที่ใช้จริง 912,000 • งบประมาณ 1,794,832,000 บาท • ซื้อได้ 717,646 เครื่อง • ต้องจัดสรรงบเพิ่ม 194,354 เครื่อง • x 2,500 = 485,862,500 บาท • เครื่องสำรองจาก 1% เพิ่มเป็น 3% • = 27,360 ต้องเพิ่มอีก 2%=18,240 • = 45,600,000 บาท • รวมงบประมาณเพิ่ม=531,462,500 บาท • นักเรียน 860,000 • ครูป.1=50,000 • วิทยากรแกนนำ 1,100 • สพป.183 x 3 = 549 • สพฐ. 51 www.themegallery.com
ปริมาณการสั่งซื้อ การผลิตและการจัดส่ง พิธีการศุลกากร การบันทึกข้อมูลลงในระบบ การจัดส่งสินค้าไป สพป. การตรวจนับของ สพป. การตรวจเครื่อง – การส่งเครื่องชำรุด Factory Error การนำไปใช้ กรณีเครื่องหาย การซื้อเครื่องทดแทน www.themegallery.com
เรียนหารือท่านเลขา • การย้ายของเด็ก เครื่องติดตัวไป รร.ขอเครื่องใหม่ที่สำรองไว้ 3% • การตั้ง Access Point ที่ รร. 3000 กว่า รร. • ทำสัญญาไปแล้ว 600 วัน จะเปลี่ยนสัญญาเป็นตั้งที่ • ห้อง ป.1 ได้ไหม กระทรวง ICT ทำเรื่องหารือมแล้ว www.themegallery.com
กระบวนการจัดส่งเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา (แท็บเล็ต) 7. บันทึกข้อมูล การส่งมอบเครื่อง 1. การเตรียมการจัดส่ง ศธ แจ้งข้อมูลจำนวนนักเรียน จำแนกตาม สพป. ภายใน 23 เม.ย. 55 ส่งข้อมูลให้ผู้ผลิตภายใน 30 เม.ย. 55 6. ดำเนินการตรวจรับเครื่อง ในส่วนกลางให้แล้วเสร็จก่อน Lot1:18 มิ.ย. 55 Lot2:18 ก.ค. 55 8. ดำเนินการจัดส่งเครื่อง ประมาณ 5 วันทำการ 2. Tablet ถึงประเทศไทย Lot1: 2 มิ.ย. 55 Lot2: 2 ก.ค. 55 9. ส่งมอบเครื่องให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา Lot1: ก่อนวันที่ 25 มิ.ย. 55 Lot2: ก่อนวันที่ 25 ก.ค. 55 5. ขนส่งเครื่อง ไปยังคลัง/สถานที่จัดเก็บ 3. ผ่านพิธีการศุลกากร ประมาณ 3 วันทำการ 10. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานัดหมายโรงเรียนรับมอบเครื่องและลงทะเบียน Tablet โรงเรียนตรวจสอบเครื่อง ก่อนการใช้งานตาม Checklist 4. ตรวจนับเครื่อง ให้แล้วเสร็จ Lot1: 7 มิ.ย. 55 Lot2: 7 ก.ค. 55 11. เริ่มใช้งานเครื่อง Tablet หมายเหตุ: กรณีเซ็นสัญญาภายใน 2 เม.ย. 55