690 likes | 943 Views
TQA-Project Evaluation. การติดตามประเมินผล TQA-Project Evaluation. ศุภชัย เมืองรักษ์ ผู้จัดการส่วน Center of Excellence ฝ่ายวิจัยและระบบสารสนเทศ. TQA-Project Evaluation. วงจรการพัฒนา 9 ขั้นตอน. หา ความต้องการ ผู้มีส่วนได้เสีย. 1.
E N D
TQA-Project Evaluation การติดตามประเมินผล TQA-Project Evaluation ศุภชัย เมืองรักษ์ ผู้จัดการส่วน Center of Excellence ฝ่ายวิจัยและระบบสารสนเทศ
TQA-Project Evaluation วงจรการพัฒนา 9ขั้นตอน หา ความต้องการ ผู้มีส่วนได้เสีย 1 ปรับปรุงงาน อย่างต่อเนื่อง กระตุ้นให้เกิด การปรับปรุง 9 2 วัดและประเมินผล การดำเนินงาน ประเมิน สภาพ องค์กรในปัจจุบัน 8 3 ปฏิบัติตามแผน ปฎิบัติการ วางแผนกลยุทธ์ ระยะสั้นและยาว 7 4 6 5 เสริมศักยภาพ ภายในองค์กร วางแผนปฏิบัติ การประจำปี
TQA-Project Evaluation รูปแบบการประเมิน 1 Decision-oriented Evaluation การประเมินที่เน้นการตัดสินใจ เป็นการตรวจสอบความสอดคล้องระหว่าง สิ่งที่เกิดขึ้น กับ สิ่งที่ควรจะเป็น และเป็นสารสนเทศสำหรับผู้บริหารใช้ตัดสินคุณค่าของสื่งนั้น
TQA-Project Evaluation รูปแบบการประเมิน 2 Value-oriented Evaluation การประเมินที่เน้นการตัดสินคุณค่า เป็นการประเมินที่ผู้ประเมินตัดสินคุณค่าของสิ่งที่ประเมิน ทั้งคุณค่าของผลที่คาดหวังและผลที่ไม่ได้คาดหวัง
TQA-Project Evaluation รูปแบบการประเมิน 3 Systematic approach Evaluation การประเมินด้วยวิธีการที่เป็นระบบ เป็นการประเมินที่เน้น ปรนัยนิยม (objectivism)มีการกำหนดรูปแบบ วิธีการ แผนงาน ตัวแปรหลักเกณฑ์ เครื่องมือมาตรฐาน สถิติ และใช้นักวิชาการทำ
TQA-Project Evaluation รูปแบบการประเมิน 4 Naturalistic approach Evaluation การประเมินด้วยวิธีการธรรมชาติ เป็นการประเมินที่เน้น อัตนัยนิยม (subjectivism)มีการกำหนดรูปตามธรรมชาติ ยืดหยุ่น สังเกตุการณ์ วิเคราะห์ตามหลักเหตุผลเชื่อมโยง อาศัยประสบการณ์ ใช้คนทั่วไปทำได้
TQA-Project Evaluation รูปแบบการประเมิน 3 Systematic approach Evaluation การประเมินด้วยวิธีการที่เป็นระบบ SV SD 1 Decision-oriented Evaluation การประเมินที่เน้นการตัดสินใจ 2 Value-oriented Evaluation การประเมินที่เน้นการตัดสินคุณค่า NV ND 4 Naturalistic approach Evaluation การประเมินด้วยวิธีการธรรมชาติ
TQA-Project Evaluation Action Plan Action Result Strategy C1 ประชาชน สุขภาพดี กิจกรรมที่ต้องทำตามปกติ ผลผลิต F1 กิจกรรมที่ต้องแกไขปรับปรุงให้ดีขึ้นกว่าเดิม กระบวนการ ลดรายจ่าย ผลกระทบ ผลลัพธ์ P1 กิจกรรมที่ต้องริเริ่มขึ้นใหม่ พัฒนาคุณภาพ อย่างต่อเนื่อง Implementation evaluation Post-implementation evaluation Pre-implementation evaluation Formative evaluation Summative evaluation
TQA-Project Evaluation Action Plan Action Result Strategy Implementation evaluation Post-implementation evaluation Pre-implementation evaluation Formative evaluation Summative evaluation Concept Action Change
TQA-Project Evaluation ข้อพึงระวังในการประเมิน 1. เลือกดู เฉพาะโครงการที่สำเร็จ 2. อำพราง ใช้ข้อมูลผิวเผิน 3. ล้มกระดาน เลิกกลางคัน 4. จัดฉาก สร้างภาพเกินจริง 5. เตะถ่วง ทำให้ล่าช้าจนเลิกสนใจ 6. เบี่ยงเบน ดึงให้สนใจเฉพาะจุด
TQA-Project Evaluation ความสัมพันธ์ 4องค์ประกอบ 4 A D 3 2 1 ปัจจัย ภายนอก 9 8 7 6 5 4 3 2 1 ปัจจัย ภายใน TQA วัตถุประสงค์ เชิงกลยุทธ์ แผนงาน / โครงการ 5 1 2 3 4 6 7 8 1 B C 2 3 4 5
TQA-Project Evaluation วงจรการประเมิน 1. กำหนดวัตถุประสงค์การประเมิน 2. เสนอประเด็นสำคัญที่ต้องการ 3. ระบุตัววัดและเกณฑ์การวัด 4. กำหนดรูปแบบการประเมิน 5. สร้างเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล 6. วางแผนดำเนินการ 7. วิเคราะห์ข้อมูล 8. รายงานผลการประเมิน นำไปสู่ 9. การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
TQA-Project Evaluation การติดตามประเมินผล 9ส่วน 5 4 7 4 3 2 1 ปัจจัย ภายนอก 9 8 7 6 5 4 3 2 1 3 6 9 ปัจจัย ภายใน TQA วัตถุประสงค์ เชิงกลยุทธ์ แผนงาน / โครงการ 5 1 2 3 4 6 7 8 1 2 2 8 3 1 4 5
TQA-Project Evaluation แผนงาน โครงการ การติดตามประเมินผล ส่วนที่ 1 1
TQA-Project Evaluation Action Plan ลำดับ กิจกรรม ระยะเวลา ( สัปดาห์ ) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 2 3 4 5 6 7 plan actual new plan
TQA-Project Evaluation ระบบการจัดการ SIPOC MODEL Product Context Input Process Output Customer Supplier Input Process Output Outcome Input Process Input Resources, including cost and workforce Process Activities, efforts, workflow Output Products and services produced Outcome Results, accomplishments, impacts
Input TQA-Project Evaluation ระบบตัววัด KPI System Are We Doing Things Right? (How?) Are We Doing The Right Things? (What?) Outcome Output Process ตัววัดในกระบวนการ Leading indicator Check point ตัววัดที่ผลลัพธ์ Lagging indicator Control point
TQA-Project Evaluation วิเคราะห์สาเหตุ
TQA-Project Evaluation วิเคราะห์สาเหตุ 1. สาเหตุ 1. สาเหตุ 1. สาเหตุ ปัจจัยภายใน (TQA) ปัญหา 1. สาเหตุ 1. สาเหตุ 1. สาเหตุ ปัจจัยภายนอก (PEST)
TQA-Project Evaluation การประเมินส่วนที่ 1 1. กำหนดวัตถุประสงค์การประเมิน 2. เสนอประเด็นสำคัญที่ต้องการ 3. ระบุตัววัดและเกณฑ์การวัด 4. กำหนดรูปแบบการประเมิน 5. สร้างเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล 6. วางแผนดำเนินการ 7. วิเคราะห์ข้อมูล 8. รายงานผลการประเมินนำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
TQA-Project Evaluation แผนงาน โครงการ กับ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ การติดตามประเมินผล ส่วนที่ 2 2
Financial Perspective Customer Perspective Measures Objectives Initiatives TQA-Project Evaluation BSC Learning Perspective Process Perspective Strategy: Our Approach To Accomplishing Our Mission
TQA-Project Evaluation มุมมอง วัตถุประสงค์ แผนงาน โตรงการ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ประชาชน สุขภาพดี x x x x x x x x C1 บุคคล ชุมชน ดูแลสุขภาพได้ x x x x C2 ประชาชน พึงพอใจ x x x x C3
TQA-Project Evaluation การประเมินส่วนที่ 2 1. กำหนดวัตถุประสงค์การประเมิน 2. เสนอประเด็นสำคัญที่ต้องการ 3. ระบุตัววัดและเกณฑ์การวัด 4. กำหนดรูปแบบการประเมิน 5. สร้างเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล 6. วางแผนดำเนินการ 7. วิเคราะห์ข้อมูล 8. รายงานผลการประเมินนำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
TQA-Project Evaluation วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ กับ เป้าหมายระยะสั้น / ยาว การติดตามประเมินผล ส่วนที่ 3 3
TQA-Project Evaluation ตาราง 2 : Objective Deployment ระดับองค์กร วัตถุประสงค์ ตัววัด ประเด็นกลยุทธ์ ระดับหน่วยงาน (กลุ่ม/ฝ่าย แผนก/งาน) 1 วัตถุประสงค์ ตัววัด ประเด็นกลยุทธ์ ระดับบุคคล 2 1 วัตถุประสงค์ ตัววัด ประเด็นกลยุทธ์ 3 2 1 4 3 2 5 4 3 6 5 4 7 6 5 7 6 7
TQA-Project Evaluation 1 3 2 4 Management Cockpit Room ( War room )
TQA-Project Evaluation การประเมินส่วนที่ 3 1. กำหนดวัตถุประสงค์การประเมิน 2. เสนอประเด็นสำคัญที่ต้องการ 3. ระบุตัววัดและเกณฑ์การวัด 4. กำหนดรูปแบบการประเมิน 5. สร้างเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล 6. วางแผนดำเนินการ 7. วิเคราะห์ข้อมูล 8. รายงานผลการประเมินนำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
TQA-Project Evaluation วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ กับ ปัจจัยภายนอก การติดตามประเมินผล ส่วนที่ 4 4
TQA-Project Evaluation ปัจจัยภายนอก วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ P C1 C2 C3 นโยบาย 30 บาท รักษาทุกโรค ประชาชน สุขภาพดี บุคคล ชุมชน ดูแลสุขภาพได้ ประชาชน พึงพอใจ E F1 F2 F3 ราคาน้ำมันแพง ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ เพิ่มประสิทธิภาพ การเงินคลัง S P1 P2 ความต้องการ มาตรฐานสูง พัฒนาคุณภาพ อย่างต่อเนื่อง บริหารตามหลัก การจัดการที่ดี T L1 L2 L3 ระบบ IT พัฒนาทักษะ บุคลากร ปรับปรุงระบบ สารสนเทศ สร้างบรรยากาศ ที่ดีในการทำงาน
TQA-Project Evaluation การประเมินส่วนที่ 4 1. กำหนดวัตถุประสงค์การประเมิน 2. เสนอประเด็นสำคัญที่ต้องการ 3. ระบุตัววัดและเกณฑ์การวัด 4. กำหนดรูปแบบการประเมิน 5. สร้างเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล 6. วางแผนดำเนินการ 7. วิเคราะห์ข้อมูล 8. รายงานผลการประเมินนำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
TQA-Project Evaluation ปัจจัยภายนอก ในปัจจุบัน และ ผลกระทบ การติดตามประเมินผล ส่วนที่ 5 5
TQA-Project Evaluation ปัจจัยภายนอกในปัจจุบัน ปัจจัยภายใน 1 2 3 4 5 ผลวิเคราะห์ ปัจจัยภายนอก แนวโน้มสถานการณ์ คาดการณ์ผลกระทบ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์
TQA-Project Evaluation การประเมินส่วนที่ 5 1. กำหนดวัตถุประสงค์การประเมิน 2. เสนอประเด็นสำคัญที่ต้องการ 3. ระบุตัววัดและเกณฑ์การวัด 4. กำหนดรูปแบบการประเมิน 5. สร้างเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล 6. วางแผนดำเนินการ 7. วิเคราะห์ข้อมูล 8. รายงานผลการประเมินนำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
TQA-Project Evaluation ปัจจัยภายในตามเกณฑ์ TQA (SW) การติดตามประเมินผล ส่วนที่ 6 6
TQA-Project Evaluation 2.การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 2.1.การจัดทำกลยุทธ์ 2.2.การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ 5.การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1.ระบบงาน 5.2.การเรียนรู้และการสร้างแรงจูงใจ 5.3.ความผาสุกและความพึงพอใจของ พนักงาน 1.การนำองค์กร 1.1. การนำองค์กร 1.2. ความรับผิดชอบต่อสังคม 7. ผลลัพธ์ขององค์กร 7.1 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า 7.2 ผลลัพธ์ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ 7.3 ผลลัพธ์ด้านการเงินและตลาด 7.4 ผลลัพธ์ด้านทรัพยากรบุคคล 7.5 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลขององค์กร 7.6 ผลลัพธ์ด้านบรรษัทภิบาลและ ความรับผิดชอบทางสังคม 3.การมุ่งเน้นลูกค้าและตลาด 3.1.ความรู้เกี่ยวกับลูกค้าและตลาด 3.2.ความสัมพันธ์กับลูกค้าและ ความพึงพอใจของลูกค้า 6.การจัดการกระบวนการ 6.1.กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2.กระบวนการสนับสนุน 4. การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ 4.1.การวัดและวิเคราะห์การดำเนินการขององค์กร 4.2.การจัดการสารสนเทศและความรู้
TQA-Project Evaluation score 7 Categories 19 Items 32 Area to addresses 88 Subparts
TQA-Project Evaluation Level 169 - 220 Questions
TQA-Project Evaluation score 169 - 220 Questions
TQA-Project Evaluation RADAR : คำถาม หมวด 1 - 6 Score Score 10 7.5 5.0 2.5 0
TQA-Project Evaluation KGTB : คำถาม หมวด 7 Score Score 10 7.5 5.0 2.5 0
TQA-Project Evaluation การประเมินส่วนที่ 6 1. กำหนดวัตถุประสงค์การประเมิน 2. เสนอประเด็นสำคัญที่ต้องการ 3. ระบุตัววัดและเกณฑ์การวัด 4. กำหนดรูปแบบการประเมิน 5. สร้างเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล 6. วางแผนดำเนินการ 7. วิเคราะห์ข้อมูล 8. รายงานผลการประเมินนำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
TQA-Project Evaluation ปัจจัยภายนอก กับ ปัจจัยภายในตามเกณฑ์ TQA การติดตามประเมินผล ส่วนที่ 7 7
TQA-Project Evaluation ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน P นโยบาย 30 บาท รักษาทุกโรค E ราคาน้ำมันแพง S ความต้องการ มาตรฐานสูง T ระบบ IT
TQA-Project Evaluation ตัวแปร ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายในตามเกณฑ์ TQA ( ระดับ Item ) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 นโยบาย 30 บาท รักษาทุกโรค x x x x x x x x x P ราคาน้ำมันแพง x x x E ความต้องการ มาตรฐานสูง x x S ระบบ IT x x T
TQA-Project Evaluation การประเมินส่วนที่ 7 1. กำหนดวัตถุประสงค์การประเมิน 2. เสนอประเด็นสำคัญที่ต้องการ 3. ระบุตัววัดและเกณฑ์การวัด 4. กำหนดรูปแบบการประเมิน 5. สร้างเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล 6. วางแผนดำเนินการ 7. วิเคราะห์ข้อมูล 8. รายงานผลการประเมินนำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
TQA-Project Evaluation แผนงาน โครงการ กับ ปัจจัยภายในตามเกณฑ์ TQA การติดตามประเมินผล ส่วนที่ 8 8