450 likes | 680 Views
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “ กองทุน FTA: เพิ่มศักยภาพการแข่งขันขันข้าวไทยสู่สากล ” กองทุน FTA กับการพัฒนาศักยภาพสินค้าข้าว โดย นาง ราตรี พูนพิริยะทรัพย์ ผู้อำนวยการส่วนบริหารกองทุนภาคการเกษตร สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร 8 กันยายน 2554 ณ โรงแรมโฆษะ จังหวัดขอนแก่น.
E N D
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “กองทุน FTA: เพิ่มศักยภาพการแข่งขันขันข้าวไทยสู่สากล” กองทุน FTA กับการพัฒนาศักยภาพสินค้าข้าว โดย นางราตรี พูนพิริยะทรัพย์ ผู้อำนวยการส่วนบริหารกองทุนภาคการเกษตร สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร 8 กันยายน 2554 ณ โรงแรมโฆษะ จังหวัดขอนแก่น
มูลค่าการส่งออกข้าวไทยมูลค่าการส่งออกข้าวไทย และประเทศผู้นำเข้ารายใหญ่(2553) หน่วย: ล้านบาท สหรัฐฯ 13,864 8.24% โกตดิวัวร์ 10,453 6.21% ไนจีเรีย 19,984 11.88% แอฟริกาใต้ 9,614 5.72% อิรัก 7,214 4.29% รวม 168,193 100% จีน 6,876 4.09% อื่น ๆ 88,529 52.64% ฮ่องกง 6,777 4.03% ญี่ปุ่น 4,882 2.90%
สถานการณ์การผลิตข้าว ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกข้าวประมาณ 66 -69 ล้านไร่ มีเกษตรกรทำนาประมาณ 3.7 ล้านครัวเรือน ผลผลิตเฉลี่ย (ปี2551) ไทย 453 กก./ไร่ เวียดนาม 822 กก./ไร่ อินโดนีเซีย 752 กก./ไร่ พม่า 634 กก./ไร่ มาเลเซีย 584 กก./ไร่ กัมพูชา 438 กก./ไร่ ประเทศไทยส่งออกข้าวมูลค่าประมาณ 200,000 ล้านบาท/ปี
ผลผลิตข้าวต่อไร่ของประเทศอาเซียนผลผลิตข้าวต่อไร่ของประเทศอาเซียน
เมื่อปี 2535 มีการจัดตั้ง AFTA ซึ่งเป็นการริเริ่มเขตการค้าเสรีอาเซียน ASEAN ปี 2553 ไทย ต้องลดภาษีนำเข้าเหลือร้อยละ 0 และยกเลิกโควตา ปี 2558 จัดตั้งเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เปิดเสรีการค้า บริการ แรงงาน และทุน
แนวทางรองรับการเปิดเสรีสินค้าเกษตร 23 รายการ(บทบาทภาครัฐ) ขั้นที่ 1 : บริหารการนำเข้า ณ ด่านศุลกากร ขั้นที่ 2 : เยียวยาเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบ (ปรับโครงสร้างการผลิตให้สามารถแข่งขันได้โดยใช้เงินสนับสนุนจากกองทุน FTA กษ.) ขั้นที่ 3: ใช้มาตรการปกป้องพิเศษ (เพื่อระงับผลกระทบชั่วคราว โดย กรมศุลกากร กรมการค้าต่างประเทศ แล ะสศก. ติดตามและเฝ้าระวังการนำเข้า หากนำเข้าผิดปกติให้เสนอคณะกรรมการฯ ที่ดูแลสินค้า 23 รายการพิจารณาการเก็บค่าธรรมเนียมปกป้อง => แจ้ง พณ. และ ก. คลัง => เสนอครม. เพื่อเก็บค่าธรรมเนียมปกป้อง)
แนวทางการปรับตัวของเกษตรกรแนวทางการปรับตัวของเกษตรกร • เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต • ลดต้นทุนการผลิต • ปรับปรุงคุณภาพผลผลิต (สอดคล้องกับความต้องการของตลาด) • ผลิตสินค้าที่หลากหลายเพื่อลดความเสี่ยง • แปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า หรือเก็บรักษาได้นานขึ้น • ปรับเปลี่ยนอาชีพ • น้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ 7 7 7
พัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวนาพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวนา การบริหารจัดการ ขนส่งและบริการ การพัฒนาการผลิต การตลาด ระหว่างประเทศ การพัฒนาชาวนา การจัดระบบตลาด & พัฒนาผลิตภัณฑ์ พัฒนาคุณภาพผลิตผล สร้างมูลค่าเพิ่ม เพิ่มผลผลิตต่อไร่ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ข้าวไทย การรักษาเสถียรภาพราคา
สถานการณ์ด้านเมล็ดพันธุ์ข้าวสถานการณ์ด้านเมล็ดพันธุ์ข้าว ความต้องการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าว ปีละ 1.0 ล้านตัน หน่วยงานราชการมีกำลังการผลิตได้เพียง ปีละ 100,000 ตัน เอกชนผลิตโดยไม่มีมาตรฐานรองรับ เกษตรกรบางส่วนเก็บพันธุ์ข้าวใว้ปลูกเอง
ปริมาณเมล็ดข้าวดีที่ต้องผลิตปริมาณเมล็ดข้าวดีที่ต้องผลิต รวม 571,000 ตัน/ปี • ราชการ+สหกรณ์+เอกชน 221,000 ตัน • จากศูนย์ข้าวชุมชน 350,000 ตัน ∴ ศูนย์ข้าวชุมชน 7,000 ศูนย์ ต้องผลิตศูนย์ละ 50 ตัน (เป้าหมาย) ขอบเขตศูนย์ละ 8,000 ไร่ (ประมาณ 1 ตำบล)
โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวและสร้างความเข้มแข็งให้ชาวนา เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าอาเซียน (AFTA) วัตถุประสงค์ • เพื่อยกระดับผลผลิตข้าว ปรับปรุงคุณภาพข้าว ลดต้นทุน • การผลิตให้สามารถแข่งขันได้ • เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้องค์กรชาวนาในชุมชน • ในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี และเป็นศูนย์กลาง • การเรียนรู้ในการผลิตข้าวของชาวนา
โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวและสร้างความเข้มแข็งให้ชาวนา เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าอาเซียน (AFTA) • พัฒนาศูนย์ข้าวหลัก 5 ศูนย์ และศูนย์ข้าวชุมชนเครือข่าย 50 ศูนย์ รวม 55 ศูนย์ ในพื้นที่ 5 จังหวัด คือ สุรินทร์ อุดรธานี อำนาจเจริญ นครสวรรค์ และอ่างทอง • จัดตั้งหมู่บ้านต้นแบบการลดต้นทุน ในพื้นที่นำร่อง 6 จังหวัด คือ สุรินทร์ อุดรธานี อำนาจเจริญ นครสวรรค์ อ่างทอง และนครศรีธรรมราช • ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 ปี • งบประมาณ 128.91 ล้านบาท • (จ่ายขาด 101.41 ล้านบาท หมุนเวียน 27.50 ล้านบาท)
วิธีดำเนินงาน การผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี จัดเวทีชุมชน จัดทำแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ดี • ศูนย์ละ 200 ไร่ • สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ข้าว ศูนย์ละ 3 ตัน การตรวจสอบและรับรองคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว • GAP Seed การติดตามให้คำแนะนำทางวิชาการ สนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็น • โรงเก็บเมล็ดพันธุ์ • ลานตากข้าว • เครื่องคัดเมล็ด เครื่องวัดความชื้น สนับสนุนเงินยืมสำหรับรับซื้อเมล็ดพันธุ์คืนจากสมาชิก ศูนย์ละ 500,000 บาท
วิธีดำเนินงาน การพัฒนาศักยภาพชาวนา และองค์กรชาวนาให้เข้มแข็ง การสร้างศูนย์เรียนรู้การผลิตข้าวชุมชน • สร้างชาวนาชั้นนำศูนย์ละ 5 คน • สร้างชาวนามืออาชีพ ศูนย์ละ 50 คน • สร้างชาวนารุ่นใหม่ ศูนย์ละ 25 คน • ถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูป การสร้างมูลค่าเพิ่ม • พัฒนาระบบการเตือนภัยธรรมชาติและศัตรูข้าว • จัดตั้งศูนย์บริการชาวนา และเครือข่าย • จัดตั้งหมู่บ้านต้นแบบลดต้นทุนการผลิต • จัดทำสื่อต่างๆ • ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีลดต้นทุน • จัดตั้งศูนย์เรียนรู้และบริการเครื่องจักรกล • ตั้งคณะกรรมการศูนย์ๆ ละ 5 คน • จัดตั้งแกนนำชาวนาจากชาวนาชั้นนำ ศูนย์ละ 1 คน พัฒนาองค์กรชาวนาให้เข้มแข็ง
ประโยชน์ที่ได้รับ มีเมล็ดพันธุ์ข้าวดีในชุมชนเพิ่มขึ้น ปีละ 2,750 ตัน กระจายในชุมชนปีละ 180,000 ไร่ เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจำหน่ายเมล็ดพันธุ์ 1,100 ครัวเรือน มีรายได้ครัวเรือนละ 5,000 บาท/ปี รวม 5.5 ล้านบาท/ปี ผลผลิตเพิ่มขึ้น ปีละ 14,400 ตัน (ไร่ละ 80 กิโลกรัม) คิดเป็นมูลค่า 140 ล้านบาท ต้นทุนในการผลิตข้าวลดลง ตันละ 1,000 บาท
โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของสหกรณ์โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของสหกรณ์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันข้าวไทยสู่สากล
โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของสหกรณ์โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของสหกรณ์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันข้าวไทยสู่สากล • วัตถุประสงค์ • สนับสนุนให้สหกรณ์การเกษตร เป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี • ส่งเสริมเกษตรกรปลูกพืชตระกูลถั่ว สลับกับการทำนา • เพื่อให้กับเกษตรกรมีความรู้ในการผลิตข้าวคุณภาพดีได้มาตรฐาน ลดการใช้สารเคมี • เพื่อให้เกษตรกรมีความสามารถในการแข่งขัน
โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของสหกรณ์โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของสหกรณ์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันข้าวไทยสู่สากล • เป้าหมาย • พื้นที่ดำเนินการในจังหวัดพิษณุโลก สุโขทัย และจังหวัดพิจิตร • พื้นที่การผลิตเมล็ดพันธุ์ขั้นพันธุ์จำหน่าย (R3) รายละ 10 ไร่ จำนวน 360 ราย รวมพื้นที่ปลูก 3,600 ไร่ • ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ได้ 3,402 ตัน/ปี • ระยะเวลาดำเนินการ 3 ปี (2554/55 – 2556/57) • งบประมาณ 55.88 ล้านบาท • จ่ายขาด 8.41 ล้านบาท • เงินยืมปลอดดอกเบี้ย 47.17 ล้านบาท
โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของสหกรณ์โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของสหกรณ์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันข้าวไทยสู่สากล วิธีดำเนินการ ส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุ์ ผลิตเมล็ดพันธุ์คุณภาพดี ส่งเสริมการปลูกถั่วสลับการทำนา • ถ่ายทอดเทคโนโลยี/ศึกษาดูงาน การผลิตเมล็ดพันธุ์ • สนับสนุนปัจจัยการผลิตแก่เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ไร่ละ 750 บาท/รอบการผลิต • จ้างเจ้าหน้าที่เพื่อติดตามให้คำแนะนำเกษตรกร • สนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนสำหรับการผลิตเมล็ดพันธุ์ให้เกษตรกรรายละ 30,000 บาท • สหกรณ์รวบรวมเมล็ดพันธุ์ที่ผลิตได้จากสมาชิก เพื่อนำไปปรับปรุงในโรงงานปรับปรุงเมล็ดพันธุ์ • สหกรณ์ควบคุมและตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ให้ได้มาตรฐาน • พัฒนาตราสินค้า และจัดทำบรรจุภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน • สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ถั่ว ไร่ละ 700 บาท/ฤดูการผลิต เพื่อพักดินตัดวงจรโรคแมลง • ส่งเสริมให้ลดการใช้น้ำ โดยเกษตรกรทำนาจากปีละ 3 ครั้ง เหลือปีละ 2 ครั้ง
โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของสหกรณ์โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของสหกรณ์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันข้าวไทยสู่สากล • ผลที่คาดว่าจะได้รับ • เกษตรกรจะสามารถลดต้นทุนการผลิต ผลผลิตเพิ่มขึ้น ผลิตข้าวที่มีคุณภาพ • สหกรณ์จะเป็นศูนย์กลางการผลิตและจำหน่ายและการกระจายพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพดีได้มาตรฐาน • การผลิตข้าวของไทยมีศักยภาพในการผลิตสูงขึ้น ผลผลิตเฉลี่ยสูงขึ้น ผลิตข้าวได้คุณภาพมาตรฐาน
ระบบการผลิตข้าวคุณภาพระบบการผลิตข้าวคุณภาพ ตลาด กำลังซื้อสูง รับสมัคร/ ขึ้นทะเบียน Niche Market ระบบตรวจสอบย้อนกลับ สร้างตราสัญลักษณ์ Q-Brand Rice ระบบการผลิตเมล็ดพันธุ์ Q-Seed Traceability ตรวจสอบ & รับรองโรงสี ตรวจสอบ & รับรอง GAP เครือข่าย ศูนย์ข้าวชุมชน GMP Mill ผลผลิตคุณภาพ Q-Farm Q-Grain Q-Seed to Q-Brand Rice การสร้างตราสัญลักษณ์
แนวคิด โครงการส่งเสริมและพัฒนาการผลิตข้าวสารคุณภาพมาตรฐาน สถาบันเกษตรกร เข้าร่วมโครงการ การปลูกข้าวใช้ ระบบการผลิต ที่ดี (GAP) ผลผลิต ไร่นาด้วยเทคโนโลยีและ ข้าวเปลือกคุณภาพ มาตรฐาน ข้าวสาร Q- mark โรงสี ที่มีระบบการ แปรสภาพข้าวเปลือก ที่ได้มาตรฐาน ขั้นตอน เป้าหมาย Q-Grain Q-Product Q-Seed Q-Farm Q-Process ตรวจสอบและรับรองระบบการผลิตข้าว GAP - รับรองแบบรายเดี่ยว - รับรองแบบกลุ่ม พัฒนา&ถ่ายทอดความรู้ เกษตรกร เป้าหมาย - ระบบการผลิตข้าว GAP - การรวมกลุ่มและระบบควบคุมภายในของกลุ่ม พัฒนา&ถ่ายทอดความรู้ โรงสีสหกรณ์การเกษตร - ระบบจัดการ GMP - การบริหารเงินทุนหมุนเวียน • พัฒนาและส่งเสริมการตลาด • ส่งเสริมการตลาด • จ้างนักการตลาดมืออาชีพ • ส่งเสริมการสร้าง Brand • ข้าวสาร Q โครงการ /กิจกรรม • - กรมส่งเสริมการเกษตร • กรมส่งเสริมสหกรณ์ • มกอช. • - กรมการข้าว • มกอช. • กรมส่งเสริมสหกรณ์ • กรมการข้าว • มกอช. - กรมส่งเสริมสหกรณ์ - กรมส่งเสริมการเกษตร - กรมการข้าว - มกอช. หน่วยงาน รับผิดชอบ
กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ FTA 24
กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตกองทุนปรับโครงสร้างการผลิต ภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ การแข่งขันของประเทศ ตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ 20 กรกฎาคม 2547 สร้างขีดความ สามารถในการ แข่งขันให้กับ สินค้าเกษตร • - เพื่อปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร • ปฏิรูปผลิตผลทางการเกษตร • เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต • และพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร • - เพื่อแปรรูปสร้างมูลค่าเพิ่ม • สินค้าเกษตร • เพื่อช่วยเหลือให้เกษตรกร • ปรับเปลี่ยนจากการผลิตสินค้า • ที่ไม่มีศักยภาพสู่สินค้าที่มีศักยภาพ • - สนับสนุนปัจจัยการผลิต • และเทคโนโลยี • สนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา • ให้ความรู้ ฝึกอบรม • และดูงาน • ให้การสนับสนุนด้าน • โครงสร้างพื้นฐานการเกษตร • - ปรับเปลี่ยนอาชีพ วัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ การสนับสนุน 25
องค์กรที่รับผิดชอบ คณะกรรมการบริหารกองทุนปรับ - พิจารณาอนุมัติโครงการที่เกษตรกร โครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อ หน่วยงานของรัฐหรือภาคเอกชนเสนอขอรับ เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน การสนับสนุน ของประเทศ - กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีใช้เงินกองทุน ติดตาม ผลการดำเนินงานของโครงการที่ได้รับอนุมัติ - ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย คณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครง - กำหนดมาตรการหรือกรอบโครงการ พิจารณา การเสนอขอรับเงินสนับสนุนกองทุน กลั่นกรองความเหมาะสมของโครงการ ปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร - ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการบริหาร กองทุนฯมอบหมาย คณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์ - กำหนดแนวทางการประชาสัมพันธ์กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อ โครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน - ให้ความเห็นชอบการจัดทำแผนประชาสัมพันธ์ของประเทศ โครงการต่างๆ - เสนอแนะการเลือกใช้สื่อต่างๆอย่างครบวงจรเพื่อกระจายข่าวสาร อำนาจหน้าที่ อำนาจหน้าที่ อำนาจหน้าที่ 26
ขั้นตอนการกำกับดูแลการใช้เงินกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรขั้นตอนการกำกับดูแลการใช้เงินกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร 1 2 3 4 เสนอผ่าน เสนอผ่าน เกษตรกร หน่วยงานของ รัฐ ภาคเอกชน จัดทำโครงการตามหัวข้อเค้าโครงข้อเสนอโครงการ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร รวบรวมตรวจสอบวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ แก้ไขปรับปรุง หน่วยงานที่รับผิดชอบตามสายงานเป็นหน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงการ 5 7 6 ไม่ผ่าน แก้ไข ไม่ผ่าน แก้ไข ไม่เห็นชอบ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รวมทั้งผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง พิจารณาความเป็นไปได้ของโครงการ คณะอนุกรรมการกลั่นกรองฯ พิจารณาความเป็นไปได้ของโครงการ เสนอคณะกรรมการบริหารกองทุนปรับโครงสร้างฯ เพื่ออนุมัติโครงการ ผ่าน เห็นชอบ เห็นชอบ 8 9 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร จัดสรรเงินเป็นรายปี ตามแผนปฏิบัติงาน/ แผนการใช้เงิน สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ติดตามการดำเนินงาน การใช้จ่ายเงิน และรายงานคณะกรรมการบริหารกองทุน อนุมัติ
เป็นโครงการที่เสนอ โดยเกษตรกร สถาบันเกษตรกร หรือ • องค์กรเกษตรกรและภาคเอกชน ซึ่งต้องได้รับผลกระทบ • โดยตรงหรือโดย อ้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า • หากเป็นเกษตรกรต้องเสนอในนามของสถาบันเกษตรกรหรือ • องค์กรเกษตรกรที่ได้รับการยอมรับจากส่วนราชการ สถาบัน เกษตรกระและภาคเอกชนต้องเสนอโครงการผ่านส่วนราชการหรือ หน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบตามสายงาน • กรณีโครงการ งาน หรือกิจกรรมที่เสนอโดยหน่วยงานของรัฐ • ต้องเป็นโครงการ งานหรือกิจกรรมที่ดำเนินการปรับโครงสร้าง • การผลิตเพื่อลดผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้าและเป็น • โครงการที่เกิดจากความต้องการหรือการมีส่วนร่วมของเกษตรกร • เป็นโครงการที่มีศักยภาพทั้งในด้านการผลิตและการตลาด • หากเป็นโครงการวิจัยต้องเป็นการวิจัยประยุกต์หรือวิจัยด้าน • การตลาด ที่ให้ผลการวิจัยไม่เกิน 1 ปี • กรณีเป็นโครงการ หรือกิจกรรม ที่จะไปทดแทนกิจกรรมเดิม • จะต้องให้ผลตอบแทนไม่น้อยกว่ากิจกรรมเดิม • เป็นโครงการที่มีแนวทางปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ที่จะ • ช่วยลดต้นทุนการผลิตให้สามารถแข่งขันได้ หลักเกณฑ์การพิจารณาโครงการ 28
กรอบและเงื่อนไขการสนับสนุนเงินกรอบและเงื่อนไขการสนับสนุนเงิน เงินจ่ายขาด ให้เฉพาะกรณีหรือค่าใช้จ่าย ดังต่อไปนี้ ค่าปัจจัยการผลิตในกรณีทดลอง/สาธิต/นำร่อง ค่าใช้จ่ายต่างๆ สำหรับงานวิจัยต้องเป็นการวิจัยประยุกต์ (Applied Research) หรือการวิจัยด้านการตลาด โดยมีผลวิจัยในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี และต้องไม่เป็นโครงการ วิจัยขั้นพื้นฐาน (Basic Research) ค่าใช้จ่ายในการถ่ายทอดเทคโนโลยี อาทิ การฝึกอบรม การสัมมนา การศึกษา ดูงาน ค่าใช้จ่ายดำเนินงานหรือค่าบริหารโครงการของหน่ายงานราชการตามหลักเกณฑ์ ที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกำหนด หรือตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน ร้อยละ 3 ของงบประมาณ โครงการ ค่าใช้จ่ายต่างๆ นอกเหนือจากที่ระบุข้างต้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการ บริหารกองทุน 29
กรอบและเงื่อนไขการสนับสนุนเงิน (ต่อ) เงินหมุนเวียนให้เฉพาะกรณีหรือค่าใช้จ่าย ดังต่อไปนี้ ●การช่วยเหลือสำหรับโครงการ ซึ่งได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า อันเนื่องมาจากนโยบายของรัฐ ●การช่วยเหลือสำหรับโครงการที่ริเริ่มใหม่ รวมทั้งกรณีจูงใจให้เกิดการผลิต หรือเปลี่ยนแปลงการผลิต ●ค่าใช้จ่ายที่สนับสนุนได้แก่ -ค่าลงทุนต่างๆ อาทิ ค่าก่อสร้างโรงเรือน/โรงงาน ค่าเครื่องมือ อุปกรณ์ -ค่าใช้จ่ายหมุนเวียนในการผลิต ●กรณีกู้ยืมจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร กองทุนจะชดเชย ดอกเบี้ยให้ทั้งหมด ●วงเงินให้ยืมและกำหนดการชำระคืนให้เป็นไปตามลักษณะการดำเนินงาน/ ความจำเป็นของแต่ละโครงการ เงินยืมคิดดอกเบี้ย ให้เฉพาะโครงการหรือกิจกรรมที่ได้รับผลตอบแทนคุ้มค่าการลงทุน โดยวงเงินให้ยืม กำหนดการชำระคืน และอัตราดอกเบี้ยให้เป็นไปตามมติคณะกรรมการ บริหารกองทุนฯ 30
หัวข้อและรายละเอียดโครงการขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนฯหัวข้อและรายละเอียดโครงการขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนฯ ชื่อโครงการชื่อเรื่องของโครงการที่เสนอขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนฯ เจ้าของโครงการหน่วยงานของรัฐ (กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่มีฐานะ เป็นกรมและรัฐวิสาหกิจ) ภาคเอกชน (สถาบัน องค์กรนิติบุคคลที่ ดำเนินการด้านเกษตร) หลักการและเหตุผล แสดงถึงเหตุผลและความจำเป็นที่ต้องจัดทำโครงการเพื่อลด ผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า (FTAAFTA WTO ฯลฯ) ซึ่งต้อง ชี้แจงให้ชัดเจนว่าเมื่อเปิดเสรีทางการค้าแล้วมีผลทำให้มีการนำเข้า สินค้านั้น จากประเทศที่ทำข้อตกลงทางการค้านับตั้งแต่วันลงนาม เพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงไร หากไม่ดำเนินการช่วยเหลือจะมีผลกระทบ ต่อเกษตรกรอย่างไร วัตถุประสงค์ แสดงถึงจุดมุ่งหมายของการดำเนินโครงการว่าทำเพื่ออะไร สามารถแก้ไขปัญหาอะไร วิธีดำเนินการ แสดงถึงรายละเอียดของขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรม ของโครงการ (กรณีระยะเวลาดำเนินโครงการเกินกว่า 1 ปี ให้แยก กิจกรรมเป็นรายปี) 31
หัวข้อและรายละเอียดโครงการขอรับการสนับสนุนมาจากกองทุนฯ (ต่อ) เป้าหมาย/ขอบเขต ระบุถึงจำนวน/ปริมาณ/กลุ่มพื้นที่ที่ต้องการดำเนินการ การดำเนินงาน ในโครงการ ระยะเวลาโครงการ แสดงถึงระยะเวลาที่กองทุนฯ สนับสนุนงบประมาณ ระยะเวลาดำเนินการ แสดงถึงจำนวนระยะเวลาในการดำเนินการ เริ่มต้นตั้งแต่ปีไหน สิ้นสุดปีไหน (รวมระยะเวลาชำระคืนเงินหมุนเวียน หากมีการ ขอสนับสนุนเป็นเงินหมุนเวียนด้วย) งบประมาณ แสดงถึงรายละเอียดของงบประมาณแต่ละหมวดในแต่ละ กิจกรรมตามวิธีการดำเนินงาน (กรณีระยะเวลาดำเนิน โครงการเกินกว่า 1 ปี ให้แยกงบประมาณเป็นรายปี) และ แจกแจงงบประมาณเป็นงบเงินจ่ายขาดและงบเงินหมุนเวียน/ เงินยืมและต้องระบุเงื่อนไขและแผนการคืนเงินให้ชัดเจน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ แสดงถึงผลของการดำเนินโครงการเมื่อเสร็จสิ้นแล้ว ช่วย ลดผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้าอย่างไรบ้าง ใคร เป็นผู้ได้รับและลดผลกระทบได้ในปริมาณมากน้อยเพียงใด สมควรแสดงเป็นตัวเลขเชิงปริมาณ 32
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554) ดำเนินการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ผลิตสินค้าที่ได้รับผลกระทบจาการเปิดเสรีการค้า จำนวน 7 สินค้า 14 โครงการ งบประมาณ รวม 637.33 ล้านบาท (จ่ายขาด 430.62 ล้านบาท หมุนเวียน 206.71 ล้านบาท ) ได้แก่ โคเนื้อ โคนม สุกร ชา ปาล์มน้ำมัน กาแฟ และข้าว รายละเอียด ดังนี้
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554) 34
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554) 35
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2553) 36
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2553) 37
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554) 38
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554) 39
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554) 40
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554) 41
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)
สนใจติดต่อขอรับการสนับสนุนสนใจติดต่อขอรับการสนับสนุน กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โทร. 0-2561-4727 โทรสาร 0-2561-4726 www2.oae.go.th/FTA E-mail: FTA@oae.go.th 45