1 / 36

รายวิชา 204410 เครือข่ายระบบสารสนเทศ หน่วยที่ 1 “ ความหมาย แนวคิดและพัฒนาการของ

รายวิชา 204410 เครือข่ายระบบสารสนเทศ หน่วยที่ 1 “ ความหมาย แนวคิดและพัฒนาการของ เครือข่ายระบบสารสนเทศ ”. โดย อ.ดร.นฤมล รักษาสุข. 1.1 ความหมายของเครือข่ายระบบสารสนเทศ 1.2 แนวคิดของเครือข่ายระบบสารสนเทศ 1.3 พัฒนาการของเครือข่ายระบบสารสนเทศ. 1.1 ความหมายของเครือข่ายระบบสารสนเทศ.

rob
Download Presentation

รายวิชา 204410 เครือข่ายระบบสารสนเทศ หน่วยที่ 1 “ ความหมาย แนวคิดและพัฒนาการของ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายวิชา 204410 เครือข่ายระบบสารสนเทศ หน่วยที่ 1 “ความหมาย แนวคิดและพัฒนาการของ เครือข่ายระบบสารสนเทศ” โดย อ.ดร.นฤมล รักษาสุข

  2. 1.1 ความหมายของเครือข่ายระบบสารสนเทศ 1.2 แนวคิดของเครือข่ายระบบสารสนเทศ 1.3 พัฒนาการของเครือข่ายระบบสารสนเทศ

  3. 1.1 ความหมายของเครือข่ายระบบสารสนเทศ 1.1.1 ความหมายของคำว่า “เครือข่าย” และ “เครือข่ายคอมพิวเตอร์” 1.1.2 ความหมายของคำว่า “เครือข่ายระบบสารสนเทศ”

  4. 1.1.1 ความหมายของคำว่า “เครือข่าย เครือข่ายคอมพิวเตอร์” “เครือข่าย” หมายถึง ระบบคอมพิวเตอร์ที่ต่อเข้ากับ เครื่องอื่น เพื่อโอนย้ายข้อมูลและสื่อสารข้อมูลได้อัตโนมัติ เครือข่ายต้องมีคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องขึ้นไป ซอฟต์แวร์จัดการเครือข่าย มักเรียกว่าระบบปฏิบัติการเครือข่าย อะแดปเตอร์เครือข่าย และสายเคเบิล ชนินทร์ เชาวมิตร. (2539). พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์ ฉบับอ่านสนุก. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, หน้า 457.

  5. “เครือข่าย” หมายถึง คอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปที่พ่วงต่อกัน โดยระบบสื่อสารเรียกว่าเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การพ่วงต่อเพื่อให้เครื่องต่าง ๆ ทำงานร่วมกันได้นี้จำเป็นจะต้องมีซอฟต์แวร์พิเศษสำหรับควบคุม ขณะเดียวกันตัวเครื่องก็ต้องมีอุปกรณ์พิเศษที่สามารถใช้สั่งและรับสัญญาณสื่อสารระหว่างกันได้ ครรชิต มาลัยวงศ์ (2538). พจนานุกรมคอมพิวเตอร์สำหรับ เยาวชน. กรุงเทพฯ: ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ. หน้า 117-118.

  6. “เครือข่าย” หมายถึง การนำคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ข้อมูลโปรแกรมหรืออุปกรณ์บางอย่าง เช่น เครื่องพิมพ์ร่วมกันได้ การสร้างเครือข่ายดังกล่าวนี้ ทางด้านฮาร์ดแวร์นอกจากจะต้องมีการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน โดยใช้สายเคเบิล เส้นใยแสงหรือดาวเทียมแล้วต้องมีตัวปรับเครือข่าย (network adapter) และอุปกรณ์ประกอบอีกหลายอย่าง นอกจากนั้นต้องมีโปรแกรมระบบ (operating system) ที่จะจัดการในเรื่องนี้ให้โดยเฉพาะ ทักษิณา สวนานนท์ (2539). พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์สำหรับ ผู้ปฏิบัติงาน. กรุงเทพฯ: ดวงกมลสมัย, หน้า 211.

  7. “เครือข่าย”หมายถึง การเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบนอกด้วยช่องสื่อสารที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้แฟ้มข้อมูลหรือใช้ทรัพยากรอื่น ๆ ร่วมกัน เครือข่ายมีตั้งแต่ที่เป็นเครือข่ายเชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้จำนวนน้อยในสำนักงานหรือในฝ่ายงาน ไปจนถึงเครือข่ายคอมพิวเตอร์เฉพาะบริเวณ (Local Area Network) ซึ่งเชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้จำนวนมาก ด้วยการติดตั้งสายเคเบิลอย่างถาวร หรือเครือข่ายบริเวณกว้างซึ่งเชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้เครือข่ายต่าง ๆ หลายเครือข่ายกระจายไปตามพื้นที่ทางภูมิศาสตร์เป็นอาณาบริเวณกว้าง พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์. (2539). ปทุมธานี: บริษัทสกายบุ๊กส์. หน้า 468 - 469.

  8. “เครือข่ายคอมพิวเตอร์”หมายถึง ระบบการนำเครื่อง คอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่อง หรือเครื่องปลายทาง (terminal) หลาย ๆ เครื่องมาทำงานร่วมกัน โดยอาจใช้อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกัน เช่น สื่อนำข้อมูลเข้า/ออก, เครื่องพิมพ์, โมเด็ม (modem) เป็นต้น ทักษิณา สวนานนท์. (2536). พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์ กรุงเทพฯ: ดวงกมลสมัย, หน้า 337.

  9. 1.1.2 ความหมายของคำว่า “เครือข่ายระบบสารสนเทศ” “เครือข่ายระบบสารสนเทศ”หมายถึง ห้องสมุดมากกว่าสองแห่ง และหรือองค์กรอื่น ๆ ที่ดำเนินกิจการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศ ร่วมกัน ดำเนินงานด้านการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ (information exchange) โดยผ่านการสื่อสารเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์บางอย่าง โดยปกติเครือข่ายจะต้องจัดทำข้อตกลงอย่างเป็นทางการ (formal agreement) สำหรับสารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศ และบริการที่ห้องสมุดและหรือองค์กรเหล่านั้นดำเนินการ เพื่อให้ ผู้ใช้ของหน่วยงานสมาชิกเครือข่ายสามารถใช้ได้

  10. เครือข่ายอาจจะมีทั้งที่ใช้คอมพิวเตอร์และไม่ใช้คอมพิวเตอร์ก็ได้ (Computerized or non-Computerized system) Rouse, W.B. & Rouse, S.H. Management of Library Networks. New York: John Wiley & Son, 1980. pp. 4-5

  11. Library Network: A special type of library cooperation for centralized development of cooperative programs and services, including use of computers and telecommunications, and requiring the establishment of a central office and a staff to accomplish network programs rather than merely for coordinate them. Programs require significant funding and usually formal contracts are required between user and the network, which is, in most cases, a legally established corporate entity.

  12. 1.2 แนวคิดของเครือข่ายระบบสารสนเทศ 1.2.1. ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด (Library Cooperation) 1.2.2. การใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกัน (Resource Sharing) 1.2.3. ความร่วมมือระหว่างห้องสมุดในลักษณะภาคี (Library Consortium)

  13. 1.2.1. ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด (Library Cooperation) Any activity between two or more libraries to facilitate, promote, and enhance library operations, use of resource, or services to users.

  14. Even though users are regarded as the primary responsibility of libraries, no libraries holds in its collections everything demanded by users. Since no library, no matter how large, can posses all of the books

  15. needed by its users, the resources in other libraries have to be utilized by allowing any one library to augment its holdings by gaining access, through interlibrary loans, to the holdingsof neighboring libraries. This kind of activity is called “Library co-operation”

  16. 1.2.2.การใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกัน(Resource Sharing) • ) เป็นการร่วมมือกันเพื่อเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศ • ที่มีอยู่ในห้องสมุดอาจเป็นการยืมระหว่างห้องสมุด • หรือการยืมโดยใช้สิทธิพิเศษ • ) เป็นความร่วมมือกันในด้านการจัดหาทรัพยากร • สารสนเทศเข้าห้องสมุดเพื่อลดความซ้ำซ้อน

  17. 1.2.2. การใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกัน (Resource Sharing) (ต่อ) 3. ) เป็นความร่วมมือกันในการเข้าถึงข้อมูลทาง บรรณานุกรม 4. ) เป็นความร่วมมือกันในการส่งเสริมด้าน การศึกษาต่อเนื่องและเพิ่มความเชี่ยวชาญ ของบุคลากร

  18. 1.2.3. ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด ในลักษณะภาคี (Library Consortium) A specialized type of cooperative library activity usually restricted to a limited geographical area, number of libraries, type of library, or subject interest. Some degree of formalization of administration and procedures is required.

  19. สรุปเปรียบเทียบลักษณะความร่วมมือ ของเครือข่ายระบบสารสนเทศ Resource Sharing Consortium LibraryCooperation ร่วมกัน 1. โครงสร้างการบริหาร เป็นอิสระแก่กัน เป็นอิสระแก่กัน ร่วมกัน เป็นอิสระแก่กัน เป็นอิสระแก่กัน 2. การเงิน ร่วมกัน ร่วมกัน 3. การจัดหาทรัพยากร สารสนเทศ เป็นอิสระแก่กัน ร่วมกัน ร่วมกัน เป็นอิสระแก่กัน 4. การให้บริการ

  20. จุดประสงค์สำคัญประการหนึ่งของการใช้ทรัพยากร สารสนเทศร่วมกันคือเพื่อใช้ทรัพยากรสารสนเทศและ บริการให้ได้มากที่สุด แต่มีค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด และการ ที่จะให้ได้ประสิทธิภาพอย่างเต็มที่ก็ขึ้นอยู่กับการสื่อสาร ที่ครบวงจรมีเทคโนโลยีที่ทันสมัย และระบบคมนาคม ขนส่งที่ดีฉับไว Robert E. Dugan & Tricario Many Ann.

  21. 1.3 พัฒนาการของเครือข่ายระบบสารสนเทศ 1.3.1 พัฒนาการของเครือข่ายระบบสารสนเทศ ในต่างประเทศ 1.3.2 พัฒนาการของเครือข่ายระบบสารสนเทศ ใน ประเทศไทย

  22. 1.3.1 พัฒนาการเครือข่ายระบบสารสนเทศ ในต่างประเทศ • Stone Age (pre-1970) • - เป็นยุคก่อนนำคอมพิวเตอร์มาใช้ • lron Age (1971-1977) • - เป็นยุคนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการประมวลผลข้อมูล • - มีการพัฒนา MARC ขึ้นใช้

  23. 1.3.1 พัฒนาการเครือข่ายระบบสารสนเทศ ในต่างประเทศ(ต่อ) • Bronze Age (1978-1983) • - เป็นยุคเริ่มใช้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ • Nuclear Age (1983- ) • - เป็นยุคที่มีเครือข่าย Internet ใช้ • - ระบบ Online

  24. 1.3.2 พัฒนาการเครือข่ายระบบสารสนเทศในประเทศไทย พ.ศ. 2522 - ผู้บริหารห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาสังกัด ทบวงมหาวิทยาลัยประชุมหารือกันอย่างไม่ เป็นทางการ 16-19 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 - จัดการสัมมนาความร่วมมือระหว่างห้อง สมุดมหาวิทยาลัยครั้งแรก ณ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒบางแสน

  25. พ.ศ. 2524 - รศ.ดร.นงลักษณ์ ไม่หน่ายกิจ เสนอผล งานวิจัยประกอบการศึกษาระดับปริญญาเอกเรื่อง “A Plan for University Library Network Development”เพื่อเป็นแนวทางใน การพัฒนาเครือข่ายระบบสารสนเทศในประเทศไทย

  26. มีนาคม พ.ศ. 2529 - ก่อตั้งข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค (PULINET) มิถุนายน พ.ศ. 2536– คณะรัฐมนตรีเห็นชอบโครงการพัฒนาระบบห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนกลาง (THAILINET- M) 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 - จุฬาได้เชื่อมต่อกับเครือข่าย Internet ซึ่งนับว่าเป็น gateway แห่งแรกของไทย

  27. พ.ศ. 2540 - ห้องสมุดมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ติดตั้ง ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ พ.ศ. 2543- - โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย

  28. พัฒนาการการใช้คอมพิวเตอร์ในระบบสารสนเทศพัฒนาการการใช้คอมพิวเตอร์ในระบบสารสนเทศ ปี ค.ศ. ต่างประเทศ ประเทศไทย 1960 (2503) มีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานห้องสมุดในประเทศ อังกฤษ 1. บริษัทไอบีเอ็มพัฒนาโปรแกรมเพื่อการ ผลิตดรรชนีสำคัญ สำหรับชื่อเรื่องใน วารสาร Chemical Abstracts 1961 (2504) 2. บริษัท Danglas Aircraftใช้คอมพิวเตอร์ ในการผลิตบัตรรายการห้องสมุด มีการนำเข้าคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้เป็นครั้งแรกในประเทศไทย โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ 1965 (2508)

  29. พัฒนาการการใช้คอมพิวเตอร์ในระบบสารสนเทศ (ต่อ) ปี ค.ศ. ต่างประเทศ ประเทศไทย AIT ใช้คอมพิวเตอร์ในงานห้องสมุดเป็นแห่งแรกในประเทศไทย LC พัฒนาและนำเสนอ MARC 1966 (2509) มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดร่วมมือกับ Research Libraries Group (RLG) จัดตั้ง Research Libraries Information Network (RLIN) 1970 (2513) AIT ใช้โปรแกรม Mini-Micro CDS/ISIS ของ UNESCO ทำ Union List of Serials 1975 (2518)

  30. พัฒนาการการใช้คอมพิวเตอร์ในระบบสารสนเทศ (ต่อ) ปี ค.ศ. ต่างประเทศ ประเทศไทย 1980 (2523) - ห้องสมุดหลายแห่งซื้อเทปข้อมูลบัตร รายการของ OCLC ในการพัฒนาฐาน ข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์ของตน - ระบบห้องสมุดอัตโนมัติจำนวนมากได้รับ การพัฒนา ขึ้นและใช้กันอย่างแพร่หลาย 1983 (2526) ห้องสมุดมหาวิทยาลัยหลายแห่งใช้คอมพิวเตอร์ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ใน การทำฐานข้อมูลบรรณา- นุกรม

  31. พัฒนาการการใช้คอมพิวเตอร์ในระบบสารสนเทศ (ต่อ) ปี ค.ศ. ต่างประเทศ ประเทศไทย 1987 (2530) ห้องสมุดมหาวิทยาลัยประมาณ 20 แห่ง ใช้โปรแกรม Mini-Micro CDS/ISIS ในการทำ ฐานข้อมูลบรรณานุกรมบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ 1990 (2533) - ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ติดตั้ง ระบบห้องสมุดอัตโนมัต SEA-URICA เป็นแห่งแรกในประเทศไทย - หอสมุดศิริราชให้บริการ CD-ROM Network

  32. ปี ค.ศ. ต่างประเทศ ประเทศไทย หอสมุดแห่งชาติซื้อระบบห้องสมุดอัตโนมัติ DYNIX ใช้ในงานของหอสมุด 1991 (2534) ห้องสมุดมหาวิทยาลัยทุกแห่งได้ใช้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติในการดำเนินงาน 1990 - 1997 (2535 - 2537 ) พัฒนาการการใช้คอมพิวเตอร์ในระบบสารสนเทศ (ต่อ)

  33. 1.4 ประเภทของเครือข่ายระบบสารสนเทศ 1.4.1. เครือข่ายระบบสารสนเทศแบ่งตามประเภท สถาบันบริการสารสนเทศ 1.4.2. เครือข่ายระบบสารสนเทศแบ่งตามสาขาวิชา 1.4.3. เครือข่ายระบบสารสนเทศแบ่งตามพื้นที่ ทางภูมิศาสตร์

  34. เครือข่ายห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา (Thai Academic Library Network-THAILINET) RLIN (Research Libraries Information Network) OPLIN (Ohio Public Library Information Network) 1.4.1.เครือข่ายระบบสารสนเทศแบ่งตามประเภทสถาบันบริการสารสนเทศ

  35. MERLN (Military Education Research Library Network) NN/LM (The National Network of Libraries of Medicine) HELLIS (Health Literature, Library and Information Services) IBIC (International Buffalo Information System) 1.4.2. เครือข่ายระบบสารสนเทศแบ่งตามสาขาวิชา

  36. ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค (Provincial University Library Network - PULINET) NEFLIN (Northeast Florida Library Information Network) NNYLN (Northern New York Library Network) 1.4.3. เครือข่ายระบบสารสนเทศแบ่งตามพื้นที่ ทางภูมิศาสตร์

More Related