180 likes | 312 Views
ขั้นตอนที่ 3 รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหา ที่จะศึกษาในชั้นเรียน. โครงการ CCE @ นครพนม. วัตถุประสงค์ของการรวบรวมข้อมูลของปัญหา เพื่อเข้าใจถึงวิธีการต่างๆ ดังนี้ : ระบุได้ถึงแหล่งที่มาของข้อมูลและเนื้อหาเพื่อใช้สำหรับปัญหาที่คัดเลือก
E N D
ขั้นตอนที่ 3 รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหา ที่จะศึกษาในชั้นเรียน โครงการ CCE @ นครพนม
วัตถุประสงค์ของการรวบรวมข้อมูลของปัญหาวัตถุประสงค์ของการรวบรวมข้อมูลของปัญหา • เพื่อเข้าใจถึงวิธีการต่างๆ ดังนี้ : • ระบุได้ถึงแหล่งที่มาของข้อมูลและเนื้อหาเพื่อใช้สำหรับปัญหาที่คัดเลือก • หาวิธีการและขั้นตอนในการรวบรวมข้อมูลและเนื้อหาที่ต้องใช้ในการแก้ปัญหา • ทบทวนและประเมินข้อมูลและเนื้อหาที่ทางกลุ่มหามาได้ • เลือกข้อมูลและเนื้อหาที่เหมาะสมเพื่อใส่ในผังนิทรรศการ (Display Portfolio) และแฟ้มเอกสาร (Documentation Binder)
1.การระบุแหล่งข้อมูล (1) ห้องสมุด (2) สำนักงานหนังสือพิมพ์ (3) อาจารย์ และนักวิชาการ (4) ทนาย นักกฎหมาย หรือผู้พิพากษา (5) องค์กรชุมชน และกลุ่มผลประโยชน์ (6) สำนักงานด้านนิติบัญญัติ (7) องค์กรบริหาร (8) เครือข่ายข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
2. สิ่งที่จะได้รับ และการบันทึกข้อมูล (1) ห้องสมุด (2) สำนักงานหนังสือพิมพ์ (3) อาจารย์ และนักวิชาการ (4) ทนาย นักกฎหมาย หรือผู้พิพากษา (5) องค์กรชุมชน และกลุ่มผลประโยชน์ (6) สำนักงานด้านนิติบัญญัติ (7) องค์กรบริหาร (8) เครือข่ายข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
2.การบันทึกข้อมูล * แหล่งข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และสื่อสิ่งพิมพ์ *แหล่งข้อมูลจากการสัมภาษณ์ และจดหมาย
3.การค้นคว้าถึงปัญหาในชุมชน3.การค้นคว้าถึงปัญหาในชุมชน * การตัดสินใจเลือกแหล่งข้อมูล *การแนะนำตนเอง
แหล่งข้อมูล • บุคคล • องค์กร หน่วยงาน • เอกสารที่ตีพิมพ์ เช่น หนังสือ บทความ ดัชนี (index) บทคัดย่อ (abstract) เป็นต้น • ข้อมูลที่ไม่ได้ตีพิมพ์ เช่น โครงร่างงานวิจัย, รายงานวิจัย, บันทึก, ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
ขอบเขตของข้อมูลระดับชุมชน อำเภอ จังหวัด • คลินิก โรงพยาบาล เช่น ข้อมูลสถิติรายวัน รายเดือน ทะเบียนผู้ป่วย ใบสั่งยา รายงานประจำปี • บทสัมภาษณ์ความคิดเห็น ความเชื่อของผู้คน • ข้อมูลจากการสังเกตการณ์ การสำรวจ รายงานต่าง ๆ ที่มีการเก็บสถิติไว้ • หนังสือ บทความ หนังสือพิมพ์ • บทวิทยุ รายการโทรทัศน์ที่ออกอากาศและบันทึกเก็บไว้
ขอบเขตของข้อมูลระดับประเทศขอบเขตของข้อมูลระดับประเทศ • บทความในวารสารวิชาการ รายงานสถิติ • ข้อมูลจากมหาวิทยาลัย ห้องสมุดสถาบันต่าง ๆ เช่น ห้องสมุดขององค์การอนามัยโลก • ข้อมูลดิบ • รายงานจากกระทรวง สถาบันการศึกษา • ข้อมูลจากหน่วยราชการ เช่น สำนักงานสถิติแห่งชาติ • NGOs
ขอบเขตของข้อมูลระดับนานาชาติขอบเขตของข้อมูลระดับนานาชาติ • ข้อมูลจากองค์กรระหว่างประเทศ เช่น • องค์การอนามัยโลก (www.who.int) • ธนาคารโลก (www.worldbank.org) • USAID (The United States Agency for International Development) (www.usaid.gov) • International Network for Rational Use of Drugs (INRUD) (http://www.inrud.org/RIS/RISWEB.ISA) • … • บทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ เช่น Journal of Democracy • ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นการให้บริการทางอินเตอร์เน็ตหรือเป็นที่นิยมใช้กันทั่วโลก เช่น DIALOG,MEDLINE, etc.
การสืบค้นข้อมูล แหล่งข้อมูล • ห้องสมุด • สำนักงานหนังสือพิมพ์ • อาจารย์ นักวิชาการ • ทนาย นักกฎหมาย ผู้พิพากษา • องค์กรชุมชน กลุ่มผลประโยชน์ • หน่วยงานด้านนิติบัญญัติ • หน่วยงานด้านบริหาร • เครือข่ายข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ • ฯลฯ วิธีการและขั้นตอนการสืบค้นข้อมูล • บัตรรายการ ฐานข้อมูลบรรณารักษ์ • บทความ ฐานข้อมูล ผู้สื่อข่าว • บทสัมภาษณ์ ผลงานวิจัย • บทสัมภาษณ์ บทความ ผลการพิพากษาคดี • บทสัมภาษณ์ รายงานการสำรวจ รายงานเชิงสถิติ • บทสัมภาษณ์ รายงานการประชุม • บทสัมภาษณ์ รายงานจากหน่วยงาน • ฐานข้อมูล Google • ฯลฯ
การค้นหาข้อมูลจากเครือข่ายข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์การค้นหาข้อมูลจากเครือข่ายข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ • การระบุ URL ของเว็บไซต์ เช่น www.kpi.ac.th www.cars.chula.ac.th • การใช้ search engine เช่น google, aol, yahoo, msn, alta vista, baidu, etc. • การเลือกใช้เทคนิคในการสืบค้น เพื่อให้เข้าถึงข้อมูลที่เฉพาะเจาะจง เช่น + - ( ) “ “ • การเลือกใช้คำค้น (Keyword) การพิจารณาเรื่อง Stop words • การเป็นสมาชิกฐานข้อมูล เช่น ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์เป็นต้น
การรวบรวมข้อมูล (การได้รับและบันทึกข้อมูล) • ข้อมูลที่สืบค้นจากห้องสมุด/แหล่งข้อมูลอื่น ๆ (ใช้แบบฟอร์มในหน้า 17 และ 18) • ข้อมูลที่ได้จากการพูดคุยทางโทรศัพท์ (ใช้แบบฟอร์มในหน้า 19 และ 20) • ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ (ใช้แบบฟอร์มในหน้า 19 และ 20) • ข้อมูลที่ได้จากทางจดหมาย (ใช้แบบฟอร์มในหน้า 19 และ 20)
การค้นหาข้อมูลจากเครือข่ายข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์การค้นหาข้อมูลจากเครือข่ายข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ • การระบุ URL ของเว็บไซต์ เช่น www.kpi.ac.th www.cars.chula.ac.th • การใช้ search engine เช่น google, aol, yahoo, msn, alta vista, baidu, etc. • การเลือกใช้เทคนิคในการสืบค้น เพื่อให้เข้าถึงข้อมูลที่เฉพาะเจาะจง เช่น + - ( ) “ “ • การเลือกใช้คำค้น (Keyword) การพิจารณาเรื่อง Stop words • การเป็นสมาชิกฐานข้อมูล เช่น ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์เป็นต้น
การรวบรวมข้อมูล (การได้รับและบันทึกข้อมูล) • ข้อมูลที่สืบค้นจากห้องสมุด/แหล่งข้อมูลอื่น ๆ (ใช้แบบฟอร์มในหน้า 17 และ 18) • ข้อมูลที่ได้จากการพูดคุยทางโทรศัพท์ (ใช้แบบฟอร์มในหน้า 19 และ 20) • ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ (ใช้แบบฟอร์มในหน้า 19 และ 20) • ข้อมูลที่ได้จากทางจดหมาย (ใช้แบบฟอร์มในหน้า 19 และ 20)
การอ้างอิงข้อมูล • คือ การระบุถึงที่มาของข้อมุลว่าได้มาจากแหล่งข้อมูลใด ด้วยวิธีการใด • ประโยชน์ของการอ้างอิง เพื่อสามารถย้อนกลับไปค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม และเพื่อให้ผู้อื่นสามารถทราบแหล่งที่มาของข้อมูลเพื่อการพิจารณาความน่าเชื่อถือ • การอ้างอิง จะประกอบด้วยชื่อผู้เขียน/ผู้ให้สัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล/ชื่อหน่วยงานชื่อเรื่องปีพิมพ์/วันที่สัมภาษณ์/วันที่ได้รับข้อมูล • หากเป็นแหล่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ต้องระบุชื่อผู้แต่ง(ปีที่พิมพ์)ชื่อเรื่องค้นเมื่อวันเดือนปีจาก URL ของหน้าเว็บไซต์ที่สืบค้น
หลักการเขียนรายงาน (Writing Up) • จัดกลุ่ม index card ตามประเด็น • เรียงหัวข้อตามลำดับที่จะเขียน • ค้นหาเอกสาร อ้างอิงให้ครบประเด็น • เขียนข้อมูลของตนด้วยคำพูดตนเอง โดยใช้เอกสารอ้างอิงต่างๆ ที่มี