240 likes | 436 Views
อนาคตเศรษฐกิจไทย : ก้าวต่อไปสู่ ความเข้มแข็งและยั่งยืน. กรอบการนำเสนอ. ความเป็นมา โครงสร้างเศรษฐกิจไทย : ประเด็นสำคัญ แนวทางการสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืน. ความเป็นมา. ปัจจัยภายนอก ราคาน้ำมัน เศรษฐกิจโลกชะลอตัว การแข่งขันการส่งออกที่รุนแรงขึ้น Tsunami ภัยแล้ง. เศรษฐกิจมีภูมิคุ้มกัน
E N D
อนาคตเศรษฐกิจไทย:ก้าวต่อไปสู่ความเข้มแข็งและยั่งยืนอนาคตเศรษฐกิจไทย:ก้าวต่อไปสู่ความเข้มแข็งและยั่งยืน
กรอบการนำเสนอ • ความเป็นมา • โครงสร้างเศรษฐกิจไทย : ประเด็นสำคัญ • แนวทางการสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืน
ความเป็นมา ปัจจัยภายนอก • ราคาน้ำมัน • เศรษฐกิจโลกชะลอตัวการแข่งขันการส่งออกที่รุนแรงขึ้น • Tsunami • ภัยแล้ง • เศรษฐกิจมีภูมิคุ้มกัน • ขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพ • มีคุณภาพและยั่งยืน • กระจายผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจอย่างทั่วถึง
โครงสร้างเศรษฐกิจไทย : ประเด็นสำคัญ • โครงสร้างรายจ่าย • โครงสร้างด้านการผลิต • โครงสร้างด้านรายได้
1. พึ่งพิงการส่งออกในสัดส่วนที่สูง • 2. ส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมเป็นหลัก ซึ่งมี import content สูง • 3. การบริโภคสินค้าคงทนมีความสำคัญมากขึ้น ต้องอาศัย import content สูง • โครงสร้างด้านรายจ่าย : 3 ประเด็นสำคัญ • เศรษฐกิจไทยขึ้นกับปัจจัยภายนอกมากขึ้น • การนำเข้าเพิ่มขึ้น : มูลค่าเพิ่ม GDP ต่ำ
1. พึ่งพิงการส่งออกสูง ทำให้เศรษฐกิจไทยขึ้นกับเศรษฐกิจโลก ที่มา : สศช.
2. พึ่งการส่งออกสินค้าอุตฯ ที่มี Import contentสูง ที่มา : สศช.
Higher exports are accompanied by increasing import bills สัดส่วนการใช้วัตถุดิบนำเข้า/ มูลค่าการส่งออก (%) ที่มา : สศช.
มูลค่าเพิ่มการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมหลักต่ำมูลค่าเพิ่มการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมหลักต่ำ ที่มา : สศช.
3.การบริโภคสินค้าคงทนมีความสำคัญมากขึ้น : ใช้วัตถุดิบนำเข้าในการผลิตสูง ที่มา : สศช.
1. พึ่งพิงสินค้าอุตสาหกรรมเป็นหลัก • 2. การผลิตสินค้าอุตฯ ที่ใช้เทคโนโลยีสูง มีต้นทุนการผลิตนำเข้าจากต่างประเทศสูง • 3. ภาคอุตสาหกรรมและขนส่ง ใช้พลังงานสูง + นำเข้าพลังงาน • 4. การผลิตต้องพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ • 5. การผลิตสาขาบริการมีความสำคัญมากขึ้นแต่บริการท่องเที่ยวยังเป็นสาขาหลัก สาขาบริการอื่น ๆ เช่น การศึกษา สุขภาพ และการเงิน ยังไม่มีการขยายตัวเท่าที่ควร • ในสาขาท่องเที่ยว อาศัยจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเป็นหลัก และใช้ความรู้และเอกลักษณ์ความเป็นไทยในการสร้างมูลค่าน้อย • 6. การผลิตสาขาเกษตร ขึ้นกับสภาพภูมิอากาศ/ ทรัพยากรธรรมชาติมากกว่าเทคโนโลยีในการผลิต • โครงสร้างด้านการผลิต : 6 ประเด็นสำคัญ • ขึ้นกับปัจจัยภายนอกมากขึ้น • การนำเข้าเพิ่มขึ้น : มูลค่าเพิ่มต่ำ
1. พึ่งพิงสาขาอุตสาหกรรมเป็นหลัก ที่มา : สศช.
2. การผลิตสินค้าอุตฯ ที่ใช้เทคโนโลยีสูง มีต้นทุนการผลิตนำเข้าจากต่างประเทศสูง ที่มา : สศช.
3. ภาคอุตสาหกรรมและขนส่งใช้พลังงานมากกว่าภาคเกษตร Shares of Final Energy Consumption by Economic Sector 2004 ที่มา : กระทรวงพลังงาน *Industry = Manufacturing +Mining +Construction
4. การผลิตพึ่งพิงเทคโนโลยีต่างประเทศ รายจ่ายค่าลิขสิทธิ์, รอยัลตี้ และเครื่องหมายการค้าสูงขึ้นต่อเนื่อง ที่มา ธปท.
ข้อสังเกต : โครงสร้างการผลิตปท. พัฒนาแล้วพึ่งภาคบริการสูง ที่มา :CEIC
โครงสร้างการใช้จ่ายประเทศพัฒนาแล้ว : ภาคบริการ
ความเหลื่อมล้ำรายได้ : ความไม่สมดุลระหว่างการผลิตและการจ้างงาน ประสิทธิภาพการผลิต/ผลิตภาพแรงงานภาคเกษตรต่ำ • แรงงานภาคเกษตรมีการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือต่ำกว่า • โครงสร้างด้านรายได้ :
การจ้างงานภาคเกษตรจะมีสัดส่วนลดลงการจ้างงานภาคเกษตรจะมีสัดส่วนลดลง แต่แรงงานกว่าร้อยละ 40 ยังคงอยู่ในภาคเกษตรกรรม (%) ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ความเหลื่อมล้ำของรายได้ความเหลื่อมล้ำของรายได้ ที่มา : สศช.
คุณภาพแรงงาน สัดส่วนแรงงานแยกตามระดับการศึกษา (ร้อยละ) ที่มา : สศช.
แนวทางการสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนแนวทางการสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืน Macroeconomic management สร้างมูลค่าเพิ่มด้านการผลิต พัฒนาคน พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน R&D ลดการใช้พลังงาน/พลังงานทดแทน Rules & Regulations Institutional framework