400 likes | 502 Views
รายงานความก้าวหน้า โครงการฯ ภายใต้ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์. ภาพรวมโครงการลดต้นทุนการผลิตสุกร. เกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯทั้งหมด 83 ราย สุกร 2 , 187 ตัว. ฟาร์มขนาดกลาง 5 7 ราย สุกร 1, 822 ตัว. ฟาร์มรายย่อย 2 6 ราย สุกร 3 65 ตัว. สรุปผลการรายงานข้อมูล ณ สิงหาคม 2557.
E N D
รายงานความก้าวหน้าโครงการฯรายงานความก้าวหน้าโครงการฯ ภายใต้ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์
ภาพรวมโครงการลดต้นทุนการผลิตสุกรภาพรวมโครงการลดต้นทุนการผลิตสุกร เกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯทั้งหมด 83 ราย สุกร 2,187 ตัว ฟาร์มขนาดกลาง 57 ราย สุกร 1,822 ตัว ฟาร์มรายย่อย 26 ราย สุกร 365 ตัว
สรุปผลการรายงานข้อมูลสรุปผลการรายงานข้อมูล ณ สิงหาคม 2557
สรุปผลการรายงานข้อมูลสรุปผลการรายงานข้อมูล ณ สิงหาคม 2557
สรุปผลการรายงานข้อมูลสรุปผลการรายงานข้อมูล ณ สิงหาคม 2557 ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ชุมพร สุราษฎร์ธานี พัทลุง ตรัง สตูล ชัยนาท สระแก้ว บุรีรัมย์ ยโสธร กาฬสินธ์ อุดรธานี มุกดาหาร หนองคาย นครพนม ลำปาง แพร่ พิจิตร นครปฐม สุพรรณบุรี
เปรียบเทียบน้ำหนักเฉลี่ยสุกรที่เริ่มทดลองเปรียบเทียบน้ำหนักเฉลี่ยสุกรที่เริ่มทดลอง หน่วย : กิโลกรัม
เปรียบเทียบน้ำหนักเฉลี่ยสุกรที่เริ่มทดลองเปรียบเทียบน้ำหนักเฉลี่ยสุกรที่เริ่มทดลอง หน่วย : กิโลกรัม
เปรียบเทียบน้ำหนักเฉลี่ยสุกรที่เริ่มทดลองเปรียบเทียบน้ำหนักเฉลี่ยสุกรที่เริ่มทดลอง หน่วย : กิโลกรัม
เสียงตอบรับจากเกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯเสียงตอบรับจากเกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯ เกษตรกรยอมรับว่า ลดต้นทุนการผลิต สุกรที่กินอาหารเสริมหญ้าหมักมีอัตราการเติบโตเป็นปกติ ในฟาร์มที่ได้สิ้นสุดโครงการ พบว่าคุณภาพซากเนื้อสุกรไม่แตกต่างกัน
ปัญหา อุปสรรค การดำเนินโครงการ
ตัวอย่าง พื้นที่ที่ดำเนินการครบ ตั้งแต่ เลี้ยงสุกร จน ถึงเขียง
การดำเนินโครงการลดต้นทุนการผลิตสุกรการดำเนินโครงการลดต้นทุนการผลิตสุกร โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดพิจิตร • สถานที่ดำเนินการ ฟาร์มสุกรที่ ๑ นายสมจิตร กล่อมบาง ๓๑/๑ หมู่ ๖ ตำบลคลองทราย อำเภอสากเหล็ก จังหวัดพิจิตร ฟาร์มสุกรที่ ๒ นายสุนทร ปานรัตน์ ๑๒ หมู่ ๔ ตำบลวังทับไทร อำเภอสากเหล็ก จังหวัดพิจิตร
เปรียบเทียบข้อมูลต้นทุนการผลิต ถึงวันที่ ๒๘ ก.ค.๕๗ ( ๕๙ วัน )
สรุปตัวเลขที่สามารถลดต้นทุนสรุปตัวเลขที่สามารถลดต้นทุน วันเลี้ยงเลี้ยงสุกรลดลง ๑๕ วัน ประหยัดค่าอาหาร ก.ก. คิดเป็นเงิน ๑๓,๑๙๔ บาท เฉลี่ยต่อตัว ๕๒๗.๗๖ บาท รวมกับตัวเลขที่จัดเก็บได้ ๑๖๔.๐๗ บาท เป็นเงิน ๖๙๑.๘๓ บาท
การเลี้ยงไก่ไข่ด้วยหญ้าเนเปียร์หมักการเลี้ยงไก่ไข่ด้วยหญ้าเนเปียร์หมัก
สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
ฟาร์มไก่ไข่ขนาดเล็ก / ขนาดกลาง ที่สมัครใจ เข้าร่วมกิจกรรมในพื้นที่ จังหวัดลพบุรี หนองคาย และสุพรรณบุรี สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
๑.เริ่มทดสอบ วันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๗ พื้นที่ตำบลสระโบสถ์ และตำบลมหาโพธิ อำเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี ๒. เกษตรกรเข้าร่วมกิจกรรม ๒๐ ราย (ไก่ไข่ที่ใช้ทดสอบ ๒๒๕ ตัว/ อายุ ๑๖ สัปดาห์) ๓. ข้อมูล ถึง ณ วันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗ พบว่า ไก่ไข่ที่กิน silage มีแนวโน้มให้ผลผลิตที่สูงกว่า / ผลตอบแทนต่อฟองดีกว่า/กลิ่นภายในคอกน้อยกว่า สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
๔.เริ่มทดสอบ การใช้ silage ทดแทนที่ ๑๐ % วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ในพื้นที่และเกษตรกรเป้าหมายเดิม ขณะนี้อยู่ระหว่างดำเนินการเก็บข้อมูล โดยแบ่งกลุ่มทดสอบเป็น ๔.๑ กลุ่มใช้ Silage ๑๐ % จำนวน ๔ ราย ไก่ไข่ ๙๗ ตัว ๔.๒ กลุ่มใช้ Silage ๕ % จำนวน ๔ ราย ไก่ไข่ ๙๙ ตัว (ตามคำแนะนำของ ผอ.ศอส.ชัยนาท) ๔.๓ กลุ่มใช้อาหารปกติ จำนวน ๔ ราย ไก่ไข่ ๑๐๑ ตัว สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
๕.ผลตอบแทนเบื้องต้น (ข้อมูลระหว่าง ๗ มิ.ย.๕๗ ถึง ๗ ก.ค.๕๗) ๕.๑ กลุ่มใช้ Silage ๑๐ % จำนวน ๑.๑๕ บาทต่อฟอง ๕.๒ กลุ่มใช้ Silage ๕ % จำนวน - บาทต่อฟอง (รอข้อมูลเพื่อประมวลผล) ๕.๓ กลุ่มใช้อาหารปกติ จำนวน ๐.๙๕ บาทต่อฟอง ส่วนต่างระหว่าง ๕.๑ และ ๕.๓ เท่ากับ ๒๐ สตางค์ ถ้า ๑๐๐ ฟอง = ๒๐ บาท สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
ควรมีการศึกษารายละเอียดหรือเก็บข้อมูลเพิ่มเติม เช่น สีของเปลือกไข่ ที่พบว่า ส่วนใหญ่ไข่ที่ได้จากไก่ไข่ที่กิน silage จะมีสีของเปลือกจางกว่า ไข่ที่ได้จากไก่ไข่ที่กินอาหารปกติ หรือลักษณะของการจับตัวของไข่ขาว หรืออื่นๆที่เกี่ยวข้อง (สุขภาพสัตว์ มลภาวะ) นอกจากนี้ควรส่งเสริมให้เกษตรกรได้ผลิต Silage ไว้ใช้เองในฟาร์ม สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
ผลการดำเนินโครงการลดต้นทุนการผลิตไก่ไข่ผลการดำเนินโครงการลดต้นทุนการผลิตไก่ไข่ ในพื้นที่จังหวัดหนองคาย
ฟาร์มที่เข้าร่วมโครงการฟาร์มที่เข้าร่วมโครงการ 1. นายอนันต์ สุวรรณสน หมู่ 4 ตำบลหนองปลาปาก ไก่ทดลอง 125 ตัว 2. นายสมจิตร ศรีคำ หมู่ 4 ตำบลหนองปลาปาก ไก่ทดลอง 208 ตัว 3. นายโชคทวี พิมพิลา หมู่ 4 ตำบลหนองปลาปาก ไก่ทดลอง 242 ตัว เริ่มดำเนินโครงการ 22 พฤษภาคม 2557
ข้อมูลเปรียบเทียบ 3 ฟาร์ม
สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
นายมนัส หาญสมคิด หมู่ที่ ๑๑ ตำบลวังไก่เถื่อน อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท โทรศัพท์ติดต่อ ๐๙๐-๔๖๑๐๔๕๘ สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
๑ .เลี้ยงในระบบฟาร์ม โดยใช้อาหารข้นสำเร็จรูป เป็นอาหารหลัก ( เดิมครอบครัวประกอบอาชีพรับซื้อไข่เป็ดส่งตลาดไท ) ๒. การลงทุนในระยะแรก ๒.๑ ค่าก่อสร้างโรงเรือน ขนาด ๑๐ X ๑๕ เมตร ๑ หลัง เป็นเงิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๒.๒ ค่าพันธุ์เป็ดไข่ อายุ ๔ เดือน จำนวน ๑,๒๐๐ ตัวๆละ ๑๒๐ บาท เป็นเงิน ๑๔๔,๐๐๐ บาท ๒.๓ ค่าอาหารข้นสำเร็จรูปวันละประมาณ ๒,๒๕๐ บาท สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
๑ .เริ่มทดสอบ เมื่ออายุเป็ดได้ประมาณ ๕ เดือน ( เริ่มไข่ได้ ๑ เดือน ) หรือเมื่อเดือนมิถุนายน ๒๕๕๗ ๒. แบ่งการให้อาหาร เป็น ๓ ช่วง ๒.๑ เช้า ใช้อาหารข้น ๒ กระสอบๆละ ๓๐ ก.ก.+ Silage ๗ ก.ก. ๒.๒ กลางวัน ใช้อาหารข้น ๑ กระสอบๆละ ๓๐ ก.ก.+ Silage ๓.๕ ก.ก. ๒.๓ เย็น ใช้อาหารข้น ๑ กระสอบๆละ ๓๐ ก.ก.+ Silage ๓.๕ ก.ก. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
๓.ปัจจุบันเป็ดมีอายุได้ ๖ เดือน สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
ปัจจุบันคงเหลือเป็ดประมาณ ๑,๑๐๐ กว่าตัว ปริมาณไข่ต่อวันประมาณ ๑,๐๐๐ ฟองขึ้นไป ( ๙๐ % ) ราคาที่จำหน่ายได้เฉลี่ยฟองละ ๓.๗๐ บาท หรือ ประมาณ ๓,๘๐๐ บาท ( ณ ๒๘ ก.ค.๕๗ ) สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
๑.จำหน่ายได้เฉลี่ยฟองละ ๓.๗๐ บาท หรือ ประมาณ ๓,๘๐๐ บาท ต่อวัน ๒. หักค่าอาหารข้น ๕ กระสอบ ๆละ ๔๕๐ บาท เป็นเงิน ๒,๒๕๐ บาท คงเหลือรายได้ยังไม่หักค่าแรง + อื่นๆ จำนวน ๑,๕๕๐ บาท สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
๑.จำหน่ายได้เฉลี่ยฟองละ ๓.๗๐ บาท หรือ ประมาณ ๓,๘๐๐ บาท ๒. หักค่าอาหารข้น ๔ กระสอบ ๆละ ๔๕๐ บาท เป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาท ๓. หักค่า Silage วันละประมาณ ๑๕ ก.ก. ๆละ ๒ บาทเป็นเงิน ๓๐ บาท ( กรณีที่ซื้อ) คงเหลือรายได้ยังไม่หักค่าแรง + อื่นๆ จำนวน ๑,๙๗๐ บาท สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
๑. ช่วงแรกเป็ดไม่กิน Silage เพราะ กลิ่นของ Silageไม่คุ้นเคย ประกอบกับเป็ดได้รับอาหารอย่างเพียงพอ เจ้าของฟาร์มได้แก้ไขโดย นำ Silage ไปวางไว้บริเวณรอบๆ ที่เป็ดกินน้ำ เพื่อให้เป็ดได้ไซร้กิน โดยใช้เวลาประมาณ ๑๕ วัน จึงเริ่มผสมอาหารข้นให้กิน หลังจากนั้นเป็ดสามารถกิน Silage + อาหารข้น ในสัดส่วนทดแทน ๑๐ % ได้เป็นปกติ สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
๒. ช่วงที่ขาด Silage ประมาณ ๒ สัปดาห์ พบว่า ปริมาณ ไข่เป็ดมีแนวโน้มลดลง คิดเป็นประมาณ ๑๐ % ไข่ส่วนใหญ่มีลักษณะแหลมและเรียว เป็ดถ่ายค่อนข้างเหลว จากการสังเกตและดูสภาพแวดล้อม พบว่า ยังสัมผัสได้ถึงกลิ่นของมูลเป็ด แต่อาจเป็นเพราะช่วงนี้มีฝนตกบ่อย ต้องเก็บข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบกับสภาพอากาศที่ปกติ เบื้องต้นให้คำแนะนำเรื่องการจัดการมูลเป็ด เพื่อลดปัญหาเรื่องกลิ่นที่อาจส่งผลกระทบต่อเพื่อนบ้านในอนาคตได้ สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
๓. ความเป็นไปได้จากการทดสอบเบื้องต้น การใช้ Silage ทดแทนการใช้อาหารข้น ๑๐ % สามารถลดต้นทุนด้านอาหารสัตว์ได้เป็นอย่างดี ปริมาณไข่เป็ดต่อวันเป็นที่พึงพอใจ ได้ให้คำแนะนำเจ้าของฟาร์มในเรื่องการผลิต Silageไว้ใช้เองภายในฟาร์ม (กรณีมีความพร้อมเรื่องแปลงหญ้า/แรงงาน) หรือ สั่งซื้อจากกลุ่มผู้ผลิต Silageจำหน่ายในพื้นที่ (เพื่อลดขั้นตอนในการผลิต Silage/เพื่อความสะดวก) สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
๔. ฟาร์มยังไม่มีระบบการป้องกันโรค ได้แนะนำเรื่องระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ(Biosecurity) เพื่อป้องกันโดยเฉพาะจากการเคลื่อนย้ายไข่เป็ดไปจำหน่าย และการเข้าเยี่ยมชมฟาร์ม สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
ฟาร์มที่ ๑ เป็ดไข่ ๑,๔๙๕ ตัว อายุ ๒๘ สัปดาห์ เดิมให้กินอาหาร ๒๔๐ ก.ก./วัน ใช้หญ้าหมักทดแทน ๑๐ % ให้อาหารผสม ๒๑๐ ก.ก. ให้หญ้าหมัก ๒๔ ก.ก. เริ่มทดลองวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๗ เสริมหญ้าหมัก ๑๐ วัน ให้ไข่เฉลี่ย ๑,๒๘๕ ฟองคิดเป็น ๘๕ % หยุดเสริมหญ้าหมัก ๗ วันให้ไข่ ๑,๓๔๖ ฟองคิดเป็น ๙๐ %
ฟาร์มที่ ๒ เป็ดไข่ ๒๕๘ ตัว อายุ ๓๒ สัปดาห์ เดิมให้กินอาหาร ๑๕ ก.ก./วัน ใช้หญ้าหมักทดแทน ๑๐ % ให้อาหารผสม ๓๒ ก.ก. ให้หญ้าหมัก ๔ ก.ก. เริ่มทดลองวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๗ หยุดเสริมหญ้าหมัก ๑๕ วันให้ไข่เฉลี่ย ๑๖๒ ฟองคิดเป็น ๖๓ % เสริมหญ้าหมัก ๒๒ วัน ให้ไข่เฉลี่ย ๑๙๓ ฟองคิดเป็น ๗๕ %