210 likes | 437 Views
ATM ( Asynchronous Transfer Mode ). ประวัติความเป็นมา. ATM (Asynchronous Transfer Mode) เป็นเทคโนโลยีที่ประกอบ ด้วยการจัดการด้านการขนส่ง (transport), สวิทชิ่ง , เครือข่าย , และบริการ ลูกค้า และ เป็นมาตรฐานการสื่อสารข้อมูลดิจิตอลของ
E N D
ประวัติความเป็นมา • ATM (Asynchronous Transfer Mode) เป็นเทคโนโลยีที่ประกอบ • ด้วยการจัดการด้านการขนส่ง (transport), สวิทชิ่ง ,เครือข่าย, และบริการ • ลูกค้า และเป็นมาตรฐานการสื่อสารข้อมูลดิจิตอลของ • ITUT (International Telephone and Telegraph Consultative Committee) • B-ISDN (Broadband Integrated Service Digital Network)
เครือข่าย ATM (ATM Networks) เครือข่าย ATM จะใช้โปรโตคอล ATM เป็นมาตรฐานการส่งข้อมูลความเร็วสูง สื่อที่ใช้ ในเครือข่ายมีได้ตั้งแต่ - สายไฟเบอร์ออปติค - สายโคแอกเชียล หรือสายไขว้คู่ (Twisted pair) มีความเร็วในการส่งข้อมูลได้ตั้งแต่ 2 Mbps ไปจนถึง 622 Mbps หรือ สูงกว่าก็ได้
หลักการทำงานของ ATM ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ดังแสดงในรูปด้านล่าง
คุณสมบัติที่สำคัญของเครือข่าย ATM คุณภาพของการให้บริการ หรือ QoS (Quality of Service) เป็น คุณสมบัติที่สำคัญของเครือข่าย ATM การให้บริการ QoS ในที่นี้หมายถึง การรับรองอัตราข้อมูลขั้นต่ำ และอัตราข้อมูลสูงสุดที่เครือข่ายสามารถ รองรับได้ ในกรณีที่มีข้อมูลสูงเกินอัตราที่กำหนดนี้ แพ็กเก็ตอาจจะส่งถึง ปลายทางหรือไม่ก็ได้
พื้นฐานของ ATM การรับส่งข้อมูลในระบบ ATM จะตรงข้ามกับเครือข่ายประเภท อื่น โดยทั่วไปการรับส่ง ข้อมูลเครือข่ายจะเป็นรูปแบบไม่มีการเชื่อมต่อ (Connectionless) ส่วนกลไกการส่งข้อมูลของ ATMกล่าวคือสถานีส่ง และสถานีรับจะรับผิดชอบในการสร้างเส้นทางเสมือน (Virtual Path)
การเชื่อมต่อเสมือน การเชื่อมต่อเสมือน (Virtual Connection) ที่สามรถสร้างใน เครือข่าย ATM ได้ มี 2ประเภทดังนี้ • วงจรเสมือน (Virtual Circuit) • เส้นทางเสมือน (Virtual Path)
ประเภทของการเชื่อมต่อประเภทของการเชื่อมต่อ ATM มีการส่งข้อมูลแบบมีการเชื่อมต่อ (Connection-Oriented) ซึ่งจะรองรับการเชื่อมต่ออยู่ 2 ประเภทดังนี้ • การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (Point-to-point Connections) • การเชื่อมต่อแบบจากจุดเดียวไปหลายจุด (Point-to-Multipoint Connection)
อัตราการถ่ายโอนข้อมูลอัตราการถ่ายโอนข้อมูล เครือข่าย ATM รองรับอัตราการถ่ายโอนข้อมูลได้หลายอัตรา - ใช้สายใยแก้วนำแสง - ใช้ระบบ OC-3 (Optical Carrier) จะอยู่ที่155.52 Mbps - ใช้ OC-1 ก็จะส่งข้อมูลได้ที่ 51.84 Mbps - ใช้ OC-48 ซึ่งจะรองรับข้อมูลได้ถึง2.488 Gbps
อุปกรณ์เครือข่าย ATM อุปกรณ์ที่ใช้ในระบบเครือข่าย ATM จะมีเฉพาะสวิตช์เท่านั้น ซึ่งจะเรียกว่า ATM สวิตช์นั่นเอง จะไม่เหมือนกับเครื่อข่าย อีเทอร์ เน็ต ที่ใช้ฮับได้ เครือข่าย ATM จะมีโทโปโลยีเป็นแบบดวงดาว (Star Topology) โดยมี ATM สวิตช์เป็นศูนย์กลาง
User Layer • Adaptation Layer เพลนของผู้ใช้ (User Plane) * AAL 1 * AAL 2 * AAL 3/4 * AAL 5 ประเภทของการให้บริการเรียกเป็น Class A, B, Cและ D เพลนควบคุม (Control Plane) * CS (Convergence Sub layer) * SAR (Segmentation and Reassembly)
3.ATM Layer 4. Physical Layer - Transmission Convergence (TC) - Physical Medium (PM)
ข้อดี-ข้อเสีย ของ ATM ข้อดี 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก 2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล 3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ 4. ATM สามารถใช้ได้ที่ความเร็วสูงมาก 5. ATM สามารถส่งข้อมูลโดยมีการรับประกันคุณภาพการส่ง ข้อเสีย 1. พึ่งพาการใช้งาน Software ที่ใช้งานเป็นอย่างมาก 2. เสียค่าใช้จ่ายสูงในการดำเนินงาน
การประยุกต์ใช้งานและแนวโน้มในการพัฒนาการประยุกต์ใช้งานและแนวโน้มในการพัฒนา รูปที่ 1 เครือข่าย ATM รูปที่ 2 เครือข่าย ATM แบบ WAN
ผู้จัดทำ • นางสาวธิดารัตน์ พูลสวัสดิ์ เลขที่ 8 • นางสาวหนึ่งฤทัย จันทร์ชุม เลขที่ 18