1 / 87

ยินดีต้อนรับ นพ.สุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต 10 และคณะ

ยินดีต้อนรับ นพ.สุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต 10 และคณะ. ข้อมูลทั่วไป. พื้นที่ 2 0 อำเภอ 156 ตำบล 1,88 0 หมู่บ้าน. หนองคาย. นายูง. N. สร้างคอม. บ้านดุง. น้ำโสม. เลย. เพ็ญ. บ้านผือ. ทุ่งฝน. พิบูลย์รักษ์. สกลนคร. กุดจับ. เมือง.

robin-sweet
Download Presentation

ยินดีต้อนรับ นพ.สุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต 10 และคณะ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยินดีต้อนรับ นพ.สุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต 10 และคณะ

  2. ข้อมูลทั่วไป

  3. พื้นที่ 20 อำเภอ 156 ตำบล 1,880 หมู่บ้าน หนองคาย นายูง N สร้างคอม บ้านดุง น้ำโสม เลย เพ็ญ บ้านผือ ทุ่งฝน พิบูลย์รักษ์ สกลนคร กุดจับ เมือง หนองบัวลำภู หนองหาน หนองวัวซอ กู่แก้ว ไชยวาน ประจักษ์ กุมภวาปี หนองแสง วังสามหมอ กาฬสินธุ์ ศรีธาตุ โนนสะอาด ขอนแก่น ประชากร จำนวน 1,543,274 คน ชาย 770,780 คนหญิง 772,494 คน ที่มา : ที่ทำการปกครองจังหวัดอุดรธานี ข้อมูล ณ 1 กรกฎาคม 2554

  4. สถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข 3. ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 1. โรงพยาบาลอุดรธานี ขนาด 806 เตียง 2. ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด 60 เตียง 4. ศูนย์มะเร็ง ขนาด 133 เตียง

  5. 5.โรงพยาบาลชุมชน 18 แห่ง ได้แก่  90 เตียง 4 แห่ง  60 เตียง 2 แห่ง  30 เตียง 11 แห่ง  10 เตียง 1 แห่ง 6. รพ.สต. 209 แห่ง สังกัดกระทรวงกลาโหม 1. โรงพยาบาลค่ายประจักษ์ศิลปาคม (150 เตียง) 2. โรงพยาบาลกองบิน 23 (30 เตียง)

  6.  ขนาด 100 เตียง 3 แห่ง - โรงพยาบาลนอร์ทอีสเทอร์นวัฒนา - โรงพยาบาลกรุงเทพ-อุดรธานี - โรงพยาบาลเอกอุดร ภาคเอกชน

  7. วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศ ในการบริหารจัดการ ระบบสุขภาพแบบองค์รวม โดยการมี ส่วนร่วม ของประชาชนและพหุภาคี ทุกภาคส่วนเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี

  8. ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. การพัฒนาระบบบริหารจัดการ 2. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 3. การมีส่วนร่วมของประชาชนและพหุภาคี

  9. พันธกิจ • จัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ • 2. จัดบริการสุขภาพแบบองค์รวมให้มีคุณภาพและมาตรฐาน • 3. ส่งเสริมและสนับสนุนภาคีเครือข่ายสุขภาพทุกภาคส่วน ให้มีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพเชิงบูรณาการ • 4. บริหารจัดการระบบสุขภาพให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • 5. สนับสนุนและพัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล

  10. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี 2553-2556 วิสัยทัศน์ : เป็นองค์กรที่เป็นเลิศในการบริหารจัดการระบบสุขภาพแบบองค์รวม โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและพหุภาคีทุกภาคส่วนเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การมีส่วนร่วมของประชาชนและพหุภาคี ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี • เสริมสร้างให้ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประชาชน ชุมชนมีส่วนร่วมในโครงการ มีความรู้และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น • แผนชุมชนใช้กระบวนการแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ • ส่งเสริมการดำเนินงานแพทย์แผนไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่น มีส่วนร่วมเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ประชาชนมีหลักประกันสุขภาพ ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ • พัฒนาระบบการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ • พัฒนาระบบบริหารจัดการหลักประกันสุขภาพ ภาคี พหุภาคีมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพ เครือข่ายธุรกิจบริการสุขภาพมีส่วนร่วมจัดบริการ • เสริมสร้างกลไกการมีส่วนร่วมของพหุภาคีในการจัดการสุขภาพ • พัฒนาสถานบริการธุรกิจบริการสุขภาพให้ได้มาตรฐาน รพ.สต.มีคุณภาพ มาตรฐาน ระบบบริการมีคุณภาพ มาตรฐาน กระบวนการ • เร่งรัดการพ้ฒนา รพ.สต.แบบบูรณาการจากทุกภาคส่วน • สนับสนุนการดำเนินงาน รพ.สต. ทุกองค์ประกอบอย่างครบถ้วน บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล • พัฒนาระบบบริการตามมาตรฐานHA&HPH • พัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษาในหน่วยบริการ มีงานวิจัยและนวตกรรมด้านสุขภาพ • ส่งเสริมการพัฒนาบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล • พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) • ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและการพัฒนานวตกรรม รากฐาน บุคลากรมีสมรรถนะ บุคลากรมีขวัญกำลังใจ ระบบข้อมูลข่าวสารมีคุภาพ มาตรฐาน • พัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล • พัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล • พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและICTให้มีคุณภาพและมาตรฐาน

  11. นโยบายสำคัญเพื่อพัฒนางานสาธารณสุข ปี 2555 นพ.สัญชัย ปิยะพงษ์กุล นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี สามัคคี วิชาการ งานสำเร็จ ชาวอุดรธานี สุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข / เศรษฐกิจพอเพียง โรคติดต่อ ลดปัญหาโรค,ภัยสุขภาพ DHF,AIDS,TB,AF,โรคเรื้อน เด็ก IQ,EQ โรคไม่ติดต่อ MS,DM,HT,หัวใจ,สมอง,มะเร็งปากมดลูก, มะเร็งท่อน้ำดี,มะเร็งเต้านม, สุขภาพจิต,โรคซึมเศร้า,ยาเสพติด, EMS ,อุบัติเหตุ ส่งเสริมสุขภาพทักษะชีวิต สุขบัญญัติ 3 ส. , 3 อ. ลดหวาน มัน เค็ม นร./เยาวชน (เพศศีกษา) P ส่งเสริม P ป้องกัน วัยทำงาน คนไทยไร้พุง ปรับสิ่งแวดล้อม R ฟื้นฟู Rx รักษา อาหารปลอดภัย(ร้านก๋วยเตี๋ยว,น้ำมันทอดซ้ำ,ดินประสิว) ส้วม,รร.ส่งเสริมสุขภาพ,ศูนย์เด็กเล็ก,วัดส่งเสริมสุขภาพ,คบส. <บุหรี่,แอลกอฺฮอร์ (กฎหมาย)> วัยสูงอายุ (คุณภาพชีวิต) ทุพพลภาพ พิการ ท.74 บริการรักษา SERVICE PLAN บูรณาการเชื่อมโยง 3˚- 2˚- 1˚เขตเมือง,เขตชนบท,แพทย์ทางเลือก ,รพ.สต. , ฟันเทียม พิการ ท.74

  12. ระบบบริหารจัดการ สสจ. สสอ. พัฒนาบุคลากร COMPETENCY,KM,LO,Innovation, แผนที่ยุทธศาสตร์,PMQA, การบริหารจัดการที่ดี , เครื่องชี้วัดชัดเจน(KPI) , SRRT,ZONE เข้มแข็ง,อำเภอเข้มแข็ง, ระบบข้อมูลสารสนเทศ (IT), DATA CENTER, ประชาสัมพันธ์ รพศ. รพช. แผนเงินบำรุง, แผน P&P, HA, LA, ประกันคุณภาพ, SERVICE PLAN, HosXP, ระบบข้อมูล 21 แฟ้ม รพ.สต. แผนเงินบำรุง, แผน P&P,แผนสุขภาพตำบล, HCA,อปท.เข้มแข็ง , กองทุนสุขภาพ, ระบบข้อมูล 21 แฟ้ม ชุมชน ภาคีสุขภาพ 5 อ., สมัชชาสุขภาพ, ชมรมสร้างสุขภาพ, หมู่บ้านจัดการสุขภาพ, หมู่บ้านต้นแบบ,แผนชุมชน (เด็ก IQ ,EQ ดี ,คนไทยไร้พุง, ความดันโลหิต, เบาหวาน, 3 ส , 3อ)

  13. จำนวนและอัตราส่วนบุคลากร สธ. เฉพาะสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี ข้อมูล : งานการเจ้าหน้าที่ สสจ.อุดรธานี 9 ส.ค. 2555

  14. โครงสร้างอายุประชากรจังหวัดอุดรธานี ปี 2554 ปี 2544มัธยฐาน 23.4 ปี ปี 2554มัธยฐาน 32.9 ปี กลุ่มอายุ กลุ่มอายุ ร้อยละ ร้อยละ มัธยฐาน 23.4 ปี

  15. ประชากรแยกตามกลุ่มอายุประชากรแยกตามกลุ่มอายุ

  16. อายุขัยเฉลี่ยของประชากรอายุขัยเฉลี่ยของประชากร

  17. สาเหตุการตายที่สำคัญ *รวมในกลุ่มไตอักเสบ กลุ่มอาการของไตพิการและไตพิการ (N00-N29)

  18. สาเหตุการป่วยของผู้ป่วยนอกสาเหตุการป่วยของผู้ป่วยนอก

  19. สาเหตุการป่วยของผู้ป่วยในสาเหตุการป่วยของผู้ป่วยใน

  20. แผนภูมิโครงสร้างสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี ปี ๒๕๕๕ • นพ.สัญชัย ปิยะพงษ์กุล • นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี งานนิติกร (นางสาวกรรณิกา สตารัตน์) นิติกรชำนาญการ นางสาวสุภาวดี คูหาทอง นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ (ด้านบริการทางวิชาการ) นางพรสวรรค์ จันโทภาส นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ (ด้านบริการทางวิชาการ) นายสันติ ศรีนิล ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ นางสุนันทา ชัยงาม ทันตแพทย์ชำนาญการพิเศษ นายวรวุฒิ เมฆเวียน นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ (ด้านส่งเสริมพัฒนา) กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค (นายมะโนตร์ นาคะวัจนะ) กลุ่มงานควบคุมโรค (นางจีรภา วัฒนกูล) กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ (นางสุรีภรณ์ สีสิงห์) กลุ่มงานสนับสนุน ภาคประชาชน (น.ส.ปราณี พระโรจน์) กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข (น.ส.สำรวย โยธาวิจิตร) กลุ่มงานประกันสุขภาพ (นางพรสวรรค์ จันโทภาส) กลุ่มงานบริหาร (นางสุจิตตรา บุญกว้าง) กลุ่มงานทันตสาธารณสุขและ พัฒนาคุณภาพบริการ (นายสันติ ศรีนิล) งานส่งเสริมสุขภาพ (นางสุรีภรณ์ สีสิงห์) กลุ่มงานพัฒนา ทรัพยากรบุคคล (นางอรวรา ไตรดำรง) - งานส่งเสริมสุขภาพ ตามกลุ่มวัย - งานอนามัยแม่และเด็ก/ปฐมวัย - วัยเรียน/ วัยรุ่น/เยาวชน - วัยทำงาน - วัยสูงอายุ/วัดส่งเสริมฯ - งานสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพ (กีฬา) - งานสภาพยาบาล - งานออกกำลังกาย - งานกีฬาสาธารณสุข - งาน HPH - งานเอดส์ในแม่และเด็ก - งานอนามัยสิ่งแวดล้อมศูนย์เด็ก/ โรงเรียน • - งานควบคุมโรคติดต่อ • - งานโรคไม่ติดต่อ • - งานเอดส์ • - งานคลินิกควบคุมโรค • - งานระบาดวิทยา • - งานผู้พิการ • งานอุบัติเหตุวินาศภัย • และภัยทางธรรมชาติ • - งานอาชีวอนามัย • - งานอนามัยสิ่งแวดล้อม • - งานสุขภาพจิต • - งานยาเสพติด • - งาน To be number one • งานตรวจระเบียบ สังคม - งานมาตรฐานผลิตภัณฑ์/ งานสถานประกอบการ - งานมาตรฐานสถานพยาบาลและประกอบโรคศิลป์ - งานคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสาธารณสุข (บุหรี่ สุรา อาหาร ด้านกฎหมาย) - งานบริหารเวชภัณฑ์ - งานส่งเสริมธุรกิจ สุขภาพ - งานแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก - งานสุขาภิบาลอาหาร - งานพัฒนายุทธศาสตร์ สช. - งานวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านสุขภาพ - งานพัฒนาระบบข้อมูลงานสุขภาพภาคประชาชน - งานหมู่บ้านจัดการสุขภาพและแผนชุมชน - งานพัฒนามาตรฐานและคุณภาพเครือข่าย อสม./อปท. และ NGO - งานอสม.. - งานครอบครัวแข็งแรง - งานกองทุนสุขภาพชุมชน - งานบูรณาการสุขภาพ ภาคประชาชน - งานส่งเสริมการมีส่วนร่วมประชาธิปไตยเครือข่าย ภาคประชาชน - งานโครงการพิเศษและบรรเทาสาธารณภัยภาคประชาชน - ประกวดผู้ใหญ่บ้าน กำนัน แพทย์ประจำตำบล, ตำบล หมู่บ้าน ดีเด่น - งานโรงพยาบาลจิตอาสา - ชมรมสร้างสุขภาพ • - งานพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ • - งานข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข • งานเทคโนโลยีสารสนเทศ • งานนิเทศและประเมินผล • - งานสมัชชาสุขภาพ • - งานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) • - งานวิจัย • - งานโครงการพิเศษ • - งานตรวจราชการ • - โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข • - งานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) - งานการเจ้าหน้าที่ - งานการเงินและบัญชี - งานพัสดุ - งานธุรการ - งานเฝ้าระวังทางการเงิน - งานศูนย์ข้อมูล GIS - งานพัฒนายุทธศาสตร์ ด้านทันตสาธารณสุข - งานพัฒนาระบบทันตสุขภาพ - งานพัฒนาการส่งเสริม/ป้องกันและวิชาการ ทันตสาธารณสุข - งานสนับสนุนการจัดบริการทันตกรรมในหน่วยบริการ ปฐมภูมิ - งานพัฒนาคุณภาพบริการ - งาน พอ.สว. - งานหน่วยปฐมพยาบาล - งานสนับสนุนการรักษาพยาล (งานพัฒนา Lab. รังสี ฯลฯ) - งาน QA งาน 5 ส. - ประกวด สสอ. สอ. ดีเด่น สอ.เฉลิมพระเกียรติ - งานอนามัยโรงเรียน - งานศูนย์เด็กเล็ก - งานผู้สูงอายุ • - งานพัฒนาสมรรถนะบุคลากร (อบรมระยะสั้น) • - งานสุขศึกษาพัฒนามาตรฐาน CUP/PCU • - งานเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ • ประชาสัมพันธ์ภายใน • และภายนอก • - งาน GIS แพทย์ พยาบาล • - ประกวดข้าราชการลูกจ้างดีเด่น • - งานจัดการความรู้ในองค์กร (KM) • - งานศึกษาดูงาน • - สนับสนุนแหล่งฝึกนักศึกษา • - งานการศึกษาต่อเนื่องบุคลากรสาธารณสุข • - งานชมรมจริยธรรม • - งานห้องสมุด • - งานพัฒนากลยุทธ์ ด้านประกันสุขภาพ • - งานลงทะเบียนผู้มีสิทธิ • - การคุ้มครองสิทธิ การรับเรื่องร้องเรียนและการประชาสัมพันธ์ • - การมีส่วนร่วมภาคท้องถิ่น และภาคประชาชน • - การบริหารกองทุน • - ประสานการจัดทำแผนงบบริการสุขภาพ • งานวิเคราะห์ และเฝ้าระวังการเงินระบบหลักประกัน • สุขภาพถ้วนหน้า • การสนับสนุนการปฏิบัติ • งานของคณะอนุกรรมการระดับจังหวัด • - การบริหารการชดเชย และตรวจสอบเวชระเบียน • - ประสานการขึ้นทะเบียน และจัดเครือข่ายหน่วยบริการ

  21. การนิเทศงานและประเมินผล คปสอ. ปีงบประมาณ 2555

  22. คณะกรรมการฯ 1. คณะกรรมการนิเทศงาน คปสอ. 4 โซน - โซน 1 นพ.สัญชัย ปิยะพงษ์กุล (นพ.สสจ.) - โซน 2 นายวรวุฒิ เมฆเวียน (ผชช.ส.) - โซน 3 นางพรสวรรค์ จันโทภาส - โซน 4 ทพ.สันติ ศรีนิล 2. คณะกรรมการประเมินผล คปสอ. 3 ระดับ - ขนาดใหญ่ นพ.สัญชัย ปิยะพงษ์กุล (นพ.สสจ.) - ขนาดกลาง นายวรวุฒิ เมฆเวียน - ขนาดเล็ก ทพ.สันติ ศรีนิล

  23. ตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ สสจ.อุดรธานี ปีงบประมาณ 2555

  24. คะแนนประเมิน คปสอ.ขนาดใหญ่

  25. คะแนนประเมิน คปสอ.ขนาดกลาง

  26. คะแนนประเมิน คปสอ.ขนาดเล็ก

  27. Data Center (43+16) รายงานต่าง ๆ Software Vendors Schema Mapping Configuration ข้อมูล ข้อมูล 43+16 1. ความถูกต้องของ Mapping Configuration 2. ความพร้อมของ HIS ต่อ มาตรฐาน 43+16 เจ้าหน้าที่ส่งข้อมูล ของสถานบริการ หรือ Software Vendors

  28. Screening-Click ระบบฐานข้อมูลสุขภาพ Data Synchronize ฐานข้อมูล 21 แฟ้ม Screening-click Homevisit PersonServiceNcdscreen เยี่ยมบ้าน/คัดกรองสุขภาพฯจำแนก ดี เสี่ยง ป่วย(CANDO)/GIS Individual RecordHome Health Care(CANDO) JHCIS จังหวัด อำเภอ ตำบล (หน่วยงาน) Monitorนิเทศ/ประเมินผล คปสอ.รายงานดี เสี่ยง ป่วย Monitorนิเทศ/ประเมินผล (รายหน่วยงาน)รายงานดี เสี่ยงป่วยกลุ่มเป้าหมาย(CANDO)รายงานอื่น ๆ นำข้อมูลมาใช้ในการค้นหากลุ่มเป้าหมาย หมู่บ้าน จำแนกข้อมูลเป็นรายพื้นที่(ปัญหา) ข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ บุคคล Individual record(CANDO) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง/เยี่ยมกลุ่มป่วยฯ/CANDO

  29. การบริหารการเงินการคลังจังหวัดการบริหารการเงินการคลังจังหวัด

  30. ภารกิจที่ 2 : การตรวจติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค ประเด็นหลักที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพและระบบหลักประกันสุขภาพ หัวข้อที่ 2.3 : ประสิทธิภาพการบริการด้านการรักษา ส่งเสริมป้องกัน และฟื้นฟู ประเด็นการตรวจราชการ : ประสิทธิภาพการบริการด้านการรักษา ประเด็นย่อย : การจัดทำต้นทุนผลผลิตการให้บริการสุขภาพ ผลการประเมินตนเองของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี ปี 2555 (1 ต.ค 2554 – 30 มิ.ย. 2555) มีระดับความสำเร็จการดำเนินงานอยู่ที่ระดับ 3

  31. ผลการวิเคราะห์ต้นทุนบริการผลการวิเคราะห์ต้นทุนบริการ • รพ.สต.นำร่อง ส่งต้นทุนบริการข้อมูล • ปีงบประมาณ 2554 ทั้งสิ้น 24 แห่ง จาก 8 อำเภอ ได้แก่ อ.เมือง 5 แห่ง อ.กุมภวาปี 1 แห่ง • อ.บ้านผือ 1 แห่ง อ.เพ็ญ 13 แห่ง • อ.กู่แก้ว 1 แห่ง อ.ไชยวาน 1 แห่ง • อ.สร้างคอม 1 แห่ง อ.นายูง 1 แห่ง • 2. โรงพยาบาล ที่สามารถวิเคราะห์ ต้นทุนทางตรง , • ต้นทุนรวมได้และอยู่ระหว่างวิเคราะห์ Micro costing • 6 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลอุดรธานี, บ้านผือ, บ้านดุง • น้ำโสม, กุดจับ และโนนสะอาด

  32. ภารกิจที่ 2 : การติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค ประเด็นหลักที่ 4 : การบริหารจัดการระบบสุขภาพ หัวข้อที่ 4.1 : การบริหารการเงินการคลังระดับเขตและจังหวัด (Health Care Financing) ประเด็นสำคัญ (Issue) : การบริหารการเงินการคลังที่มีประสิทธิภาพ ชื่อตัวชี้วัด: 4.1.3 ระดับความสำเร็จของการบริหารการเงินการคลัง

  33. การบริหารการงบหลักประกันสุขภาพการบริหารการงบหลักประกันสุขภาพ

  34. งบดำเนินงานเหมาจ่ายรายหัวล่วงหน้าปี 2555 หลังปรับลด 5% เปรียบเทียบปี 2554 งบตามผลงานจริงปี 2553-2554 ที่มาหักจากงบเหมาจ่ายรายหัวปี 2555 เป็นเงิน 15,648,359.10 บาท ทำให้งบเหมาจ่ายรายหัวปี 2555 ได้รับเพิ่มจากปี 2554 เป็นเงิน 94,714,564.45 บาท

  35. การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลังของหน่วยบริการการวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลังของหน่วยบริการ ดัชนีการบริหารการเงินการคลัง (FAI) ของโรงพยาบาล ไตรมาสที่ 3/2555 คะแนนภาพรวมทั้งจังหวัด เท่ากับ 4 สถานการณ์และแนวโน้มการเงินการคลังโรงพยาบาล

  36. สถานะการเงินของโรงพยาบาล ณ 30 มิ.ย. 2555 * เงินคงเหลือ และหนี้สิน ไม่รวมกองทุนรับล่วงหน้าต่างๆ

  37. [2] ผลประกอบการของโรงพยาบาลภาพรวมทั้งจังหวัด ปี 2553-2555 ภาพรวม รพ. ทั้งจังหวัด ปี 2555 (ณ 30 มิ.ย. 2555) มีผลประกอบการขาดทุน I/E ratio ปี 2554 เท่ากับ 1.11 สิ้นไตรมาส 3/255 เท่ากับ 0.91 แต่ภาพรวมโรงพยาบาลชุมชน สิ้นไตรมาสที่ 3/2555 ผลประกอบการติดลบ I/E ratio เท่ากับ 0.91 โดยมีโรงพยาบาลชุมชน 15 แห่ง จาก 18 แห่ง ที่มีผลประกอบการติดลบ รวมขาดทุน ทั้งสิ้น 126.49 ล้านบาท โรงพยาบาลที่ขาดทุนมากที่สุดคือ เพ็ญ 21.52 ล้านบาท รองลงมา คือ วังสามหมอ 15.52 ล้านบาท และ หนองหาน 14.71 ล้านบาท

  38. [3] หนี้สินการค้า

  39. สถานการณ์การเงินการคลัง รพ.สต. ณ 30 มิ.ย. 2555

  40. ค่า CMI ปีงบประมาณ 2553-2555

  41. เปรียบเทียบค่า CMI ปีงบประมาณ 2554และ2555

  42. ผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล

  43. กองทุนสุขภาพตำบล จังหวัดอุดรธานี มี อปท. 180… แห่ง ปี 2555 เข้าร่วมกองทุน …180..แห่ง (ร้อยละ …100...)

  44. การบริหารงบประมาณปี 2550-2555

  45. การบริหารงบประมาณปี 2555 ยอดยกมาจากปี 2550 -255450,724,960.07 บาท งบ สปสช.โอนปี 255541,259,579.23 บาท อปท สมทบ (ขณะนี้) 17,376,449.00บาท (ข้อมูล website) รายรับอื่นๆ 312,177.43 บาท รวมรายรับปี 255558,948,205.66 บาท รวมเงินกองทุนฯทั้งสิ้น 109,673,165.73 บาท เบิกจ่าย ต.ค.54 - ก.ค.5546,620,154.75บาท (ข้อมูล website) คงเหลือ (ณ 20 ก.ค.55) 63,053,010.98 บาท การใช้จ่ายงบประมาณร้อยละ 42.50 ของรายรับปี 55

  46. สสจ. • แต่งตั้งคณะทำงานสนับสนุนการดำเนินกองทุนฯ(ทีมพี่เลี้ยงจังหวัด) • จัดประชุมติดตามการคีย์รายงานออนไลน์ 180 กองทุน • จัดอบรมทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด 10 คน (ครู ก) หลักสูตร 2 วัน (รอดำเนินการ สปสช. เขต 8) • จัดอบรมทีมพี่เลี้ยงระดับอำเภอ (ครู ข) หลักสูตร 2 วัน • โอนเงินสนับสนุนทีมพี่เลี้ยงระดับอำเภอ(สสอ.) กองทุนละ 2,000 บ. • สุ่มติดตามประเมินผล และคัดเลือกกองทุนต้นแบบ อำเภอละ 1 กองทุน (กลุ่มงานสุขภาพภาคประชาชน) • ทีมพี่เลี้ยงจังหวัดออกพื้นที่ติดตามเยี่ยมกองทุน (เกรด B และ C) • จัดเวทีนำเสนอผลงานและมอบรางวัล กองทุนต้นแบบระดับจังหวัด

  47. สสอ. (งบประมาณ 2,000 บาท /กองทุน) -ทำคำสั่งแต่งตั้งทีมพี่เลี้ยงระดับอำเภอๆ ละ 5-8 คน -จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานกองทุนระดับอำเภอ -ทีมพี่เลี้ยงอำเภอออกพื้นที่เยี่ยมกองทุนทุกแห่ง -ติดตามกำกับการบันทึกรายงานออนไลน์ -ออกประเมินผลและบันทึกผลการประเมินออนไลน์ กองทุน -ทบทวนแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(อนุมัติโครงการ) -ดำเนินงานตามแผน(โครงการ/กิจกรรม) -แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามกำกับโครงการ -ผู้รับผิดชอบโครงการรายงานผลการดำเนินให้คณะกรรมการ กองทุนรับทราบ -ผู้รับผิดชอบคีย์บันทึกรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ ออนไลน์ -ประเมินตนเองและบันทึกผลการประเมินออนไลน์

More Related