1 / 94

ระบบต้นทุนปกติ และ บัญชีต้นทุนงานสั่งทำ

ระบบต้นทุนปกติ และ บัญชีต้นทุนงานสั่งทำ. ชนิดของต้นทุนกิจการอุตสาหกรรม Types of Product-Costing Systems. ต้นทุนงานสั่งทำ Job order Costing. ต้นทุนกระบวนการ(ช่วง) Process Costing. ลักษณะสำคัญของวิธีการบัญชีต้นทุนงาน. 1. สินค้าแต่ละคำสั่งการผลิตมีลักษณะแตกต่างกัน 2. สินค้ามักมีราคาสูง

Download Presentation

ระบบต้นทุนปกติ และ บัญชีต้นทุนงานสั่งทำ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบต้นทุนปกติ และ บัญชีต้นทุนงานสั่งทำ

  2. ชนิดของต้นทุนกิจการอุตสาหกรรมTypes of Product-Costing Systems ต้นทุนงานสั่งทำ Job order Costing ต้นทุนกระบวนการ(ช่วง) Process Costing

  3. ลักษณะสำคัญของวิธีการบัญชีต้นทุนงานลักษณะสำคัญของวิธีการบัญชีต้นทุนงาน 1. สินค้าแต่ละคำสั่งการผลิตมีลักษณะแตกต่างกัน 2. สินค้ามักมีราคาสูง 3. ผลิตสินค้าตามคำสั่งลูกค้าเท่านั้น ไม่ผลิตเป็นจำนวนมากเพื่อรอขาย(Mass Production) 4. ใช้บัตรต้นทุนงานควบคุมต้นทุนการผลิตแต่ละคำสั่งแยกออก จากกัน ตัวอย่าง กิจการที่ใช้วิธีต้นทุนงานสั่งทำ - โรงพิมพ์ พิมพ์งานตามคำสั่งพิมพ์ของลูกค้า - ธุรกิจก่อสร้าง - ธุรกิจทนายความ

  4. การบัญชีต้นทุนงานสั่งทำการบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ การบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ คือ วิธีการบัญชีเก็บรวบรวมและสะสมต้นทุน การผลิตของงานตามคำสั่งผลิตของลูกค้า เนื่องจากคำสั่งการผลิตแต่ละ งานจะแตกต่างกัน จึงจะต้องรวบรวมและสะสมต้นทุนแยกตามคำสั่งผลิต

  5. ต้นทุนงานสั่งทำ (Job order costing) วิธีต้นทุนปกติ (Normal costs method)

  6. องค์ประกอบต้นทุนผลิตภัณฑ์องค์ประกอบต้นทุนผลิตภัณฑ์

  7. สาเหตุการกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานสาเหตุการกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน 1. ไม่มีต้นทุนใช้เพื่อกำหนดราคาสินค้าขึ้นล่วงหน้าเพื่อใช้ในการประมูลงาน 2. หากใช้วิธีต้นทุนตามจ่ายจริง กว่าจะทราบต้นทุนผลิตทั้งหมดจะต้องรอจนกว่า จะสิ้นงวดเนื่องจากมีค่าใช้จ่ายบางตัวถูกกำหนดด้วยงวดเวลา เช่น ค่าเสื่อมราคา ดอกเบี้ยจ่าย เงินเดือนพนักงานประจำ เป็นต้น 3. ไม่มีข้อมูลเพื่อเตรียมสำหรับการวางแผนงานล่วงหน้า 4. นอกจากนี้การปิดบัญชีต้นทุนจ่ายจริงทุกเดือนจะมีข้อจำกัด ทางด้าน - ปริมาณขายที่เป็นฤดูกาล เกิดขึ้นไม่สม่ำเสมอ เช่น เครื่องปรับอากาศขายดีหน้าร้อน มีปริมาณการผลิตมากต้นทุนการผลิตสูง การแบ่งต้นทุนคงที่เป็นต้นทุนสินค้าต่ำกว่าที่ควร เพราะคิดเฉพาะต้นทุนคงที่ ที่เกิดขึ้นเฉพาะในเดือนนั้น - ต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิตเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล เช่นค่าไฟฤดูร้อนสูงกว่าฤดูหนาว เป็นต้น

  8. ค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน • คำนวณอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานขึ้นใช้ • อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน =งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต • งบประมาณกิจกรรมตัวผลักดันต้นทุน • นำอัตราไปใช้ในการคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์ • ต้นทุนค่าใช้จ่ายผลิตเป็น = ปริมาณกิจกรรมตัวผลักดัน x อัตราค่าใช้จ่ายการ • ส่วนหนึ่งของผลิตภัณฑ์ต้นทุนเกิดขึ้นจริง ผลิตคิดเข้างาน

  9. บัตรต้นทุนงาน บัญชีคุมยอดวัตถุดิบ D /M Goods WIP คุมยอดค่าแรง D / L อัตราค่าใช้จ่าย การผลิตคิดเข้างาน A/OH ต้นทุนขาย ขาย ค่าใช้จ่ายการผลิต คิดเข้างานสูง(ต่ำ)ไป ค่าใช้จ่ายขาย และบริหาร OH กำไรขาดทุน กำไรสะสม

  10. วิธีต้นทุนปกติ (Normal Costs) คือ การกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตไว้ล่วงหน้าเพื่อความสะดวก ในการปฏิบัติงาน ในด้านต่างๆ คำนวณต้นทุนอาคารชุด 10 ชั้น เพื่อกำหนดราคายื่นซองประกวดราคา ต้นทุนสินค้าประกอบด้วย : วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง ค่าใช้จ่ายการผลิต แต่เราไม่รู้ค่าใช้จ่ายการผลิตนี่!! ต้องรอให้สิ้นงวดก่อน, ทำไงดี

  11. รู้แล้ว…… ต้องใช้ค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน ก่อนอื่นต้องหาอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานก่อน

  12. ตัวอย่างการคำนวณ - อัตราค่าใช้จ่ายการผลิต กิจการก่อสร้างแห่งหนึ่งตั้งงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตประจำปี 2544 เท่ากับ 9,000,000 บาท โดยเลือกตัวผลักดันต้นทุน คือชั่วโมงแรงงานทางตรง คาดว่าในปี 2544 จะมีชั่วโมงแรงงานทางตรงเท่ากับ 200,000 ชั่วโมง อัตราค่าใช้จ่าย = งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต การผลิตคิดเข้างาน ตัวผลักดันต้นทุน = 9,000,0000 200,000 = 45 บาท/ชั่วโมง

  13. รู้แล้ว…… ต้องใช้ค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน ก่อนอื่นต้องหาอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานก่อน ต้นทุนอาคาร 10 ชั้น D/M 150,000 ต่อชั้น10 ชั้น 1,500,000 D/L 60,000 ชั่วโมง@ ฿20 1,200,000 A/OH 60,000 ชั่วโมง@ ฿45 2,700,000 รวมต้นทุนการผลิต 5,400,000 Markup (180%) 9,720,000 เพราะฉะนั้น ราคายื่นประกวดราคาเท่ากับ 9,720,000 บาท

  14. วิธีการคำนวณอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานวิธีการคำนวณอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน อัตราค่าใช้จ่าย = งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต การผลิตคิดเข้างาน ประมาณกิจกรรมตัวผลักดันต้นทุน งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต การคาดการณ์งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตที่จะใช้เพื่อการผลิตตลอดทั้งปี โดยอาศัยข้อมูลสถิติและการวิเคราะห์แนวโน้มในอนาคตประกอบ

  15. ตัวผลักดันต้นทุน กิจการสามารถกำหนดต้นผลักดันต้นทุนได้ โดยเลือกใช้ตัวผลักต้นทุนที่สำคัญที่สุดที่ทำให้เกิดค่าใช้จ่ายการผลิต เช่น ในการผลิตเฟอร์นิเจอร์ ตัวผลักดันต้นทุนที่สำคัญได้แก่ ชั่วโมงแรงทางตรงที่ใช้ในการผลิต ยิ่งมีชั่วโมงการผลิตมากก็จะมีค่าใช้จ่ายการผลิตสูงตามไปด้วย โดยทั่วไปชนิดของตัวผลักดันต้นทุนที่เป็นที่นิยมใช้ได้แก่ 1. ชั่วโมงแรงานทางตรง 2. ต้นทุนแรงงานทางตรง 3. ต้นทุนวัตถุดิบทางตรง 4. ชั่วโมงเครื่องจักร 5. หน่วยผลิตเสร็จ

  16. ก่อสร้าง ชนิดตัวผลักดันต้นทุน -ชั่วโมงแรงงานทางตรง -ต้นทุนแรงงานทางตรง -ต้นทุนวัตถุดิบ

  17. ภัตตาคาร • ชนิดตัวผลักดันต้นทุน • -ชั่วโมงการทำการงานของพ่อครัว • ต้นทุนวัตถุดิบ • จำนวนจานที่ถูกเสริฟ • จำนวนโต๊ะที่บริการ

  18. โรงงานอุตสาหกรรม ชนิดตัวผลักดันต้นทุน -ชั่วโมงเครื่องจักร -กำลังการผลิตของเครื่องจักรต่อปีงบประมาณ

  19. ระดับกำลังการผลิต (Capacity) • ระดับอุดมคติ • ระดับที่มีประสิทธิภาพ • ระดับปกติ • ระดับงบประมาณ

  20. การบันทึกข้อมูลต้นทุนตามระบบต้นทุนงานสั่งทำการบันทึกข้อมูลต้นทุนตามระบบต้นทุนงานสั่งทำ บัตรต้นทุนงาน เอกสารสำคัญสำหรับการบันทึก รวบรวมข้อมูลของงานแต่ละงานที่ผลิต ติดตามกระบวนการ

  21. การคำนวณอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตการคำนวณอัตราค่าใช้จ่ายการผลิต อัตราค่าใช้จ่าย= งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต การผลิต ประมาณกิจกรรมตัวผลักดันต้นทุน = $3,200,000 800,000 DLH = $4 per DLH

  22. Job-Order Cost Accounting

  23. Job-Order Cost Accounting Amaterials requisition form is used to authorize the use of materials on a job. Let’s see one

  24. Materials Requisition Form Will E. Delite

  25. Materials Requisition Form Cost of material is charged to job A-143. Will E. Delite

  26. Materials Requisition Form Type, quantity, and total cost of material charged to job A-143. Will E. Delite

  27. Materials Requisition Form The materials requisition form also serves as the source document for recording material usage in the accounting records. Will E. Delite

  28. Job-Order Cost Accounting

  29. Job-Order Cost Accounting Accumulate direct labor costs by means of a work record, such as atime ticket, for each employee. Let’s see one

  30. Employee Time Ticket

  31. Job-Order Cost Accounting

  32. Job-Order Cost Accounting Applymanufacturing overhead to jobs using apredetermined overhead rate based on direct labor hours (DLH). Let’s do it

  33. Job-Order Cost Accounting

  34. เมื่อบริษัทนี้ รับจ้างผลิตมากกว่า 1 งาน

  35. Accumulating Costs in aJob-Order Costing System Charge direct material costs to each job as the materials are used. Direct Materials Job No. 1 Direct Labor Job No. 2 Manufacturing Overhead Job No. 3

  36. Accumulating Costs in aJob-Order Costing System Direct Materials Charge direct labor costs to each job as the work is performed. Job No. 1 Direct Labor Job No. 2 Manufacturing Overhead Job No. 3

  37. Accumulating Costs in aJob-Order Costing System Direct Materials Apply overhead to each job using a predetermined rate. Job No. 1 Direct Labor Job No. 2 Manufacturing Overhead Job No. 3

  38. Accumulating Costs in aJob-Order Costing System Direct Materials Job No. 1 Special documents are used to track costs for each job. Direct Labor Job No. 2 Manufacturing Overhead Job No. 3

  39. บัตรต้นทุนงาน บัญชีคุมยอดวัตถุดิบ D /M Goods WIP คุมยอดค่าแรง D / L อัตราค่าใช้จ่าย การผลิตคิดเข้างาน A/OH ต้นทุนขาย ขาย ค่าใช้จ่ายการผลิต คิดเข้างานสูง(ต่ำ)ไป ค่าใช้จ่ายขาย และบริหาร OH กำไรขาดทุน กำไรสะสม

  40. ตัวอย่างต้นทุนงานสั่งทำตัวอย่างต้นทุนงานสั่งทำ

  41. บริษัท สไตล์เฟอร์นิเจอร์ จำกัด เมื่อดำเนินงานมาได้เป็นเวลา 1 ปีก็พบกับปัญหาการคำนวณ และตีราคาสินค้าที่ผลิต เนื่องจากบริษัทใช้ระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งทำตามจ่ายจริงบริษัทจึงตัดสินใจที่จะเปลี่ยนมาเป็นวิธีต้นทุนงานสั่งทำวิธีต้นทุนปกติก่อนจะเปลี่ยนมาใช้วิธีต้นทุนปกติบริษัทจึงจัดการผลิตสินค้าตามที่ลูกค้าสั่งให้เสร็จ และส่งมอบสินค้าทั้งหมดที่ผลิตเสร็จเรียบร้อย โดยจะแสดงวิธีคิดบัตรต้นทุนงานสั่งทำ จากข้อมูลมีงานสั่งทำ 4 งาน 2 เดือนคือ 1. เตียงนอนไม้สัก(ม.ค.) 3. ฉากกั้นห้อง(ก.พ.) 2. ตู้ไม้สัก(ม.ค.) 4. โต๊ะเครื่องแป้ง(ก.พ.)

  42. ในเดือนมกราคม งานเลขที่ 2/001 ใส่ข้อมูลรายระเอียดต่างๆเกี่ยวกับงาน

  43. งานเลขที่ 2/001 ใส่ยอดที่เบิกวัตถุดิบ

  44. งานเลขที่ 2/001 ใส่ค่าแรงงานทางตรงจากใบสรุปค่าแรง

  45. งานเลขที่ 2/001 นำจำนวนชั่วโมงค่าใช้จ่ายการผลิตมาจากจำนวนชั่วโมงแรงงานทางตรง ส่วนอัตราค่าใช่จ่ายการผลิตขึ้นอยู่ที่การประมาณการของบริษัทในที่นี้คือ 9

  46. งานเลขที่ 2/001 รวมยอดค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยแยกค่าใช้จ่ายแต่ละตัว

More Related