130 likes | 305 Views
การพัฒนาครูพลศึกษาในประเทศไทย. รองศาสตราจารย์ ดร.วิชิต คนึง สุขเกษม นายกสมาคมสุขศึกษา พลศึกษา และ สันทนา การแห่งประเทศไทย.
E N D
การพัฒนาครูพลศึกษาในประเทศไทยการพัฒนาครูพลศึกษาในประเทศไทย รองศาสตราจารย์ ดร.วิชิต คนึงสุขเกษม นายกสมาคมสุขศึกษา พลศึกษา และ สันทนาการแห่งประเทศไทย
In order for men to succeed in life,God provided him with Two means,education and physical activities. Not seperately, one for the soul and the other for the body,but for the two together. With these two means, man can attain perfection Plato
-รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย-รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (การจัดการศึกษาให้เปล่า12ปีอย่างมีคุณภาพและมาตรฐานตลอดจนให้มี การพัฒนาครูให้มีคุณภาพและมาตรฐาน) -พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542,2545,2553) พัฒนาครูและผู้สอนพลศึกษาในการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้การจัดการเรียน การสอนพลศึกษาสอดคล้องกับพระราชบัญญัติ คือเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้รู้จักคิดเป็น ทำเป็นด้วยตนเอง โดยมุ่งพัฒนาความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ไปพร้อมๆกัน ทำไมต้องพัฒนาครู
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ระบุถึง หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ระบุถึง การพัฒนาศักยภาพครูไว้ว่าให้ถือเป็นหน้าที่ของสถานศึกษาที่จะต้องพัฒนาครูให้เป็นครูมืออาชีพเพื่อให้มีศักยภาพในการพัฒนาหลักสูตรและ การเรียนรู้ของนักเรียน
ประเทศไทยได้เข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการระดับรัฐมนตรีว่าด้วยการพลศึกษาและกีฬาระหว่างประเทศ(MINEPS) โดยUNESCO ได้จัดประชุมทุก 10 ปี ครั้งที่ 1 ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส พ.ศ.2521 ครั้งที่ 2 ที่กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย พ.ศ. 2532 ครั้งที่ 3 ที่เมืองปุนตาเดลเลเต ประเทศอุรุกวัย พ.ศ. 2542
สรุปประเด็นการประชุม พลศึกษาและกีฬาเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานสำหรับทุกคน พลศึกษาและกีฬาเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตลอดชีวิต สนองตอบความต้องการของบุคคลและสังคม ควรใช้บุคลากรที่มีวุฒิและคุณสมบัติที่เหมาะสม ต้องจัดให้มีสนามและอุปกรณ์ที่เพียงพอ การวิจัยและติดตามผลเป็นสิ่งจำเป็น ต้องปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรม ต้องพัฒนาระบบฐานข้อมูล สื่อมวลชนควรสนับสนุนเชิงสร้างสรรค์ จัดตั้งสถาบันระดับชาติทางพลศึกษาและกีฬา
การพัฒนาครูเป็นกระบวนการที่เร่งด่วนอย่างยิ่งเพราะการพัฒนาครูเป็นกระบวนการที่เร่งด่วนอย่างยิ่งเพราะ ปัญหาในการจัดการเรียนการสอน ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเฉพาะในโรงเรียนขนาดเล็ก ครูมีปัญหาเรียงตามลำดับดังนี้ ภาระงานของครูมาก มีภาระงานเกี่ยวกับเอกสารที่ต้องรับผิดชอบมาก ครูขาดการพัฒนาในด้านการพัฒนาการเรียนการสอน ครูไม่มีเวลาพัฒนาการเรียนการสอน แผนการสอนสำเร็จรูปที่หาซื้อมาสอนไม่ได้ผลและสอน ไม่ได้ตามแผน
ครูในโรงเรียนขนาดเล็กมีความต้องการที่จะพัฒนาตนเอง ครูในโรงเรียนขนาดเล็กมีความต้องการที่จะพัฒนาตนเอง เพื่อทำการสอนสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาให้มี ประสิทธิภาพเรียงตามลำดับดังนี้ 1. ต้องการพัฒนาแผนการจัดการเรียนการสอน 2. ต้องการพัฒนาทักษะกีฬาที่ใช้ในการสอน 3. ต้องการพัฒนาสมรรถนะประจำสายงาน 4. ต้องการพัฒนาการออกแบบการเรียนรู้ 5. ต้องการเรียนรู้การวิจัยในชั้นเรียน 6. ต้องการให้มีการนิเทศการสอน 7. ต้องการศึกษาดูงานในโรงเรียนที่จัดการได้ดี 8. ต้องการพัฒนาการสอนที่ดี
ใครรับผิดชอบในการพัฒนาครูใครรับผิดชอบในการพัฒนาครู การศึกษาขั้นพื้นฐาน อดีต - สำนักงานประถมศึกษาแห่งชาติ(สปช) - กรมสามัญศึกษา(มัธยมศึกษา) ปัจจุบัน - สำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน(ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา) - สำนักงานข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา อาชีวศึกษา - กรมอาชีวศึกษา อุดมศึกษา - สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา(สกอ.) แต่ละมหาวิทยาลัยสามารถเพิ่มเติมจากเกณฑ์กลางของสกอ.
รูปแบบการพัฒนาครู - One shot trainimg - School – based training - Mini - course
School-based training องค์ประกอบที่เสนอโดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 8 ประการ ผู้ให้การอบรมต้องเป็นผู้ชำนาญ มีประสบการณ์ และมีผลงาน ผู้เข้ารับการอบรมเป็นครูซึ่งต้องการการพัฒนาโดยสมัครใจ จำนวนผู้เข้ารับการอบรมพอประมาณ เพื่อประสิทธิภาพในการให้คำปรึกษา และนิเทศติดตามผล 4. รูปแบบการะบวนการฝึกอบรมจัดขึ้นตามสภาพปัญหาและความต้องการ 5. เนื้อหาหลักสูตรจัดเพื่อการปฏิรูป 6. การประเมินผลจัดก่อน ระหว่างและหลังการอบรม 7. สถานที่ฝึกอบรมคือโรงเรียนหรือสถานศึกษา 8. ผู้บริหารให้การสนับสนุน อำนวยความสะดวก
ใคร ทำอะไร? ที่ไหน? ปัญหามีอะไร? อะไรควรดำเนินการต่อไป?