720 likes | 1.63k Views
หน่วยที่ 5. โครงสร้างตลาด. ตลาด ( Market ). ตลาด หมายถึง การติดต่อซื้อขายสินค้าซึ่งกันและกัน ซึ่ง ความหมายดังกล่าวข้างต้นตลาดจะมีสถานที่หรือไม่มีสถานที่ก็ได้. ผู้ซื้อ. ผู้ขาย. สินค้า. โครงสร้างตลาด. โครงสร้างตลาด. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์. ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์. ตลาดกึ่งแข่งขัน กึ่งผูกขาด.
E N D
หน่วยที่ 5 โครงสร้างตลาด
ตลาด ( Market ) ตลาด หมายถึง การติดต่อซื้อขายสินค้าซึ่งกันและกัน ซึ่ง ความหมายดังกล่าวข้างต้นตลาดจะมีสถานที่หรือไม่มีสถานที่ก็ได้ ผู้ซื้อ ผู้ขาย สินค้า
โครงสร้างตลาด โครงสร้างตลาด ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ตลาดกึ่งแข่งขัน กึ่งผูกขาด ตลาดผู้ขายน้อยราย ตลาดผูกขาด
โครงสร้างตลาด โครงสร้างตลาด หมายถึง ลักษณะต่าง ๆ ของหน่วยธุรกิจ ในตลาด ซึ่งจะกำหนดโดย - จำนวนผู้ซื้อผู้ขาย - ลักษณะของสินค้าหรือปัจจัยการผลิต - ความยากง่ายของการเข้าออกจากอุตสาหกรรม โครงสร้างของตลาดจะมีอิทธิพลอย่างมากต่อพฤติกรรม ของหน่วยผลิตหรือธุรกิจในการ - กำหนดราคาสินค้า - ปริมาณการผลิต - นโยบายทางด้านการตลาด
การแบ่งโครงสร้างของตลาดการแบ่งโครงสร้างของตลาด • แบ่งตามจำนวนผู้ขาย • 1. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ( Perfect Competitive Market ) • 2. ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด ( Monopolistic Competition ) • 3. ตลาดผู้ขายน้อยราย ( Oligopoly ) • 4. ตลาดผูกขาด (Monopoly )
การแบ่งโครงสร้างของตลาดการแบ่งโครงสร้างของตลาด • แบ่งตามจำนวนผู้ซื้อ 1. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ( Perfect Competitive Market ) 2. ตลาดผู้ซื้อมากราย ( Monopsonistic Competition ) 3. ตลาดผู้ซื้อน้อยราย ( Oligopsony ) 4. ตลาดผู้ซื้อคนเดียว ( Monopsony )
ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์ 1. มีผู้ซื้อและผู้ขายมาก 2. สินค้ามีลักษณะเหมือนกันทุกประการ 3. ผู้ซื้อและผู้ขายมีความรอบรู้ในข่าวสารของตลาดอย่างสมบูรณ์ 4. ไม่มีข้อจำกัดในการเข้าหรือออกจากการแข่งขัน 5. การเคลื่อนย้ายสินค้าและปัจจัยการผลิตเป็นไปได้อย่างสมบูรณ์
ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์ P P S 5 P , AR , MR , d D Q Q 150 0 0 1 4 ตลาด ธุรกิจ
ราคาสินค้า รายรับเฉลี่ยและรายรับหน่วยสุดท้าย ราคา ปริมาณ รายรับทั้งหมด รายรับเฉลี่ย รายรับหน่วยสุดท้าย P Q TR = P.Q AR = TR MR = TR Q Q 5 1 5 5 5 5 2 10 5 5 5 3 15 5 5 5 4 20 5 5 5 5 25 5 5 5 6 30 5 5 5 7 35 5 5 5 8 40 5 5 5 9 45 5 5 5 10 50 5 5 ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ AR = MR = P
ราคาสินค้า รายรับเฉลี่ยและรายรับหน่วยสุดท้าย P MC กำไรเกินปกติ ATC MC = MR รายรับ (TR) = OQ1AP1 ต้นทุน (TC) = OQ1BC กำไร = CBAP1 A P,AR,MR,d (5) P1 (4) C B Q Q1 0
ราคาสินค้า รายรับเฉลี่ยและรายรับหน่วยสุดท้าย P P S S1 5 P , AR , MR , d 4 P1, AR1 , MR1 , d1 D Q Q 150 0 0 1 4 ตลาด ธุรกิจ
ราคาสินค้า รายรับเฉลี่ยและรายรับหน่วยสุดท้าย P P S S1 S2 5 P , AR , MR , d 4 P1, AR1 , MR1 , d1 3 P2, AR2 , MR2 , d2 D Q Q 0 0 1 4 Q2 Q3 Q1 ตลาด ธุรกิจ
ราคาสินค้า รายรับเฉลี่ยและรายรับหน่วยสุดท้าย P MC ATC กำไรปกติ A (4) P1 ,C P,AR,MR,d Q Q1 0
ราคาสินค้า รายรับเฉลี่ยและรายรับหน่วยสุดท้าย MC P ATC ขาดทุน (5) C (4) P1 P,AR,MR,d Q Q1 0
เส้นอุปสงค์ของหน่วยธุรกิจเส้นอุปสงค์ของหน่วยธุรกิจ P , รายรับ 5 d = AR = MR = P Q 0
เส้นอุปสงค์ของตลาด P , รายรับ D Q 0
เส้นรายรับทั้งหมด P , รายรับ TR Q 0
ปริมาณการผลิตและจำหน่ายในระยะยาวปริมาณการผลิตและจำหน่ายในระยะยาว ต้นทุนต่อหน่วย LRMC LRATC P = AR = MR P ปริมาณ 0 Q LMC = LAC = P = AR = MR
ตัวอย่างทางด้านคณิตศาสตร์ตัวอย่างทางด้านคณิตศาสตร์ ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ถ้ากำหนดให้ TC = 4,000 + 5 Q + 0.1 Q2 MC = 5 + 0.2 Q โดยมี Q= จำนวนผลิต จงคำนวณหา 1. ยอดขายที่จะได้รับกำไรสูงสุด ถ้าให้ราคาเท่ากับ 55 บาท / หน่วย 2. ถ้าราคาเพิ่มเป็น 65 บาท / หน่วย ธุรกิจจะมียอดรายได้และกำไร เท่าใด
ตัวอย่างทางด้านคณิตศาสตร์ ( ต่อ ) วิธีทำ ณ จุดกำไรสูงสุด MC = MR 55 = 5 + 0.2 Q 0.2 Q = 50 Q = 250 = TR - TC = 55(250) - 4,000 - 5(250) - 0.1(250)2 = 2,250
ตัวอย่างทางด้านคณิตศาสตร์ ( ต่อ ) เมื่อราคาเพิ่มเป็นหน่วยละ 65 บาท จุดที่กำไรสูงสุด MC = MR 65 = 5 + 0.2 Q 0.2Q = 60 Q = 300 = TR - TC = 65 (300) - 4,000 - 5 (300) - 0.1(300)2 = 5,000 บาท
ต้นทุน , รายรับ TC TR ปริมาณ 0 Q1 Q2 Q3 ต้นทุน , รายรับ MC ATC P AR , MR , P กำไรเกินปกติ C ปริมาณ 0 Q1 Q2 Q3 กำไร 50 TNP ปริมาณ 0 Q1 Q2 Q3
ต้นทุน , รายรับ TC TR ปริมาณ 0 Q1 Q2 ต้นทุน , รายรับ MC ATC กำไรปกติ P,C AR , MR , P ปริมาณ 0 Q1 Q2 กำไร TNP ปริมาณ 0 Q1 Q2
ต้นทุน , รายรับ TC TR TVC ปริมาณ 0 Q1 ต้นทุน , รายรับ MC AFC ATC AVC 6 AR , MR , P 5 4.5 ปริมาณ 0 Q1 กำไร Q1 ปริมาณ 0 TFC
ต้นทุน , รายรับ TC TVC TR ปริมาณ 0 Q1 ต้นทุน , รายรับ MC ATC D AVC E P AR , MR , P A ปริมาณ 0 Q1 กำไร ปริมาณ Q1 TFC 100
P TC TR Q 0 Q P TC TR Q 0 Q P TC TR Q 0 Q
การประเมินผลของการผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์การประเมินผลของการผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ 1. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์เป็นตลาดที่ไม่สามารถเกิดขึ้นได้ ตามสภาพความเป็นจริง จึงเป็นเพียงตลาดในอุดมการณ์เท่านั้น 2. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ การผลิตจะเป็นไปอย่างมีประสิทธิ- ภาพสูงสุด เพราะหน่วยผลิตทุกหน่วยต้องการผลิตที่ทำให้ต้นทุนต่ำ สุด โดยใช้ขนาดของโรงงานที่เหมาะสม ขายสินค้าในราคาที่เท่ากับ ต้นทุนเฉลี่ย และต้นทุนหน่วยสุดท้ายซึ่งแสดงถึงการผลิตที่มี ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจสูงสุด
การประเมินผลของการผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์การประเมินผลของการผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ 3. การผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์จะมีผลต่อระบบเศรษฐกิจ ดังนี้คือ 3.1 ทำให้การจัดสรรทรัพยากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพทาง เศรษฐกิจ 3.2 ทำให้การกระจายรายได้ค่อนข้างเสมอภาค 3.5 ทำให้เกิดความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีระดับปกติอยู่ตลอดเวลา แต่ไม่สามารถเกิดเทคโนโลยีที่สูงมากได้ เพราะข้อจำกัดทางด้านกำไร
ข้อดีของตลาดแข่งขันสมบูรณ์ข้อดีของตลาดแข่งขันสมบูรณ์ 1. ผู้บริโภคจะได้รับความพอใจสูงสุดในการเลือกซื้อสินค้า และบริการ 2. ผู้ผลิตสามารถจัดสรรทรัพยากร หรือปัจจัยการผลิตได้ อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3. ผู้บริโภคมีโอกาสที่จะเลือกซื้อสินค้าและบริการได้ในราคา ต่ำสุด
ตลาดผูกขาด (Monopoly) ลักษณะของตลาดผูกขาด 1. มีหน่วยธุรกิจเพียงรายเดียวที่ผลิตสินค้า 2. สินค้าที่ผลิตได้ต้องไม่เหมือนกับของผู้ผลิตรายอื่น และไม่ สามารถหาสินค้าอื่นมาใช้ใกล้เคียงกันได้ 3. มีข้อกีดกันที่ทำให้ธุรกิจใหม่ ๆ ไม่สามารถเข้ามาแบ่งปันใน อุตสาหกรรมได้ 4. มีผู้ซื้อจำนวนมาก แต่ผู้ซื้อแต่ละรายจะซื้อสินค้าเป็นจำนวน น้อย จนไม่สามารถต่อรองราคากับผู้ผลิตได้
ตลาดผูกขาด (Monopoly) 5. Demand ในสินค้าของผู้ผูกขาด คือ Demand ของตลาด เพราะในตลาดผูกขาดที่แท้จริง อุตสาหกรรมและธุรกิจเป็นรายเดียว กัน 6. ผู้ผูกขาดมีอิทธิพลเหนือราคาหรือปริมาณสินค้าที่จะขาย อย่างไรก็ตาม ถ้ากำหนดราคาสูงเกินไปจะทำให้Demand ลด ลง และถ้าผู้บริโภคเดือดร้อนรัฐก็จะเข้ามาควบคุมราคาและปริมาณ การผลิตโดยใช้นโยบายต่าง ๆ เพื่อลดกำไรของผู้ผูกขาด
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการผูกขาดปัจจัยที่ก่อให้เกิดการผูกขาด 1. ข้อจำกัดด้านการซื้อปัจจัยการผลิต 2. ข้อจำกัดด้านกฎหมาย 3. ข้อจำกัดด้านเงินทุน 4. การรวมหัวกันเป็นผู้ผูกขาดสินค้ารายเดียว 5. ข้อจำกัดด้านเทคโนโลยี 6. การจดทะเบียนกรรมสิทธิ์ (Patent right) สิ่งประดิษฐ์ของตน ไว้กับรัฐบาล
เส้นอุปสงค์และเส้นรายรับหน่วยสุดท้ายเส้นอุปสงค์และเส้นรายรับหน่วยสุดท้าย P P D = d D MR Q Q 0 0 เส้นอุปสงค์ของผู้ผูกขาดและตลาด เส้นอุปสงค์และเส้นรายรับหน่วยสุดท้าย
การตั้งราคาสินค้าในตลาดผูกขาดการตั้งราคาสินค้าในตลาดผูกขาด P P MC กำไรเกินปกติ ATC P1 C P,D,AR P,D,AR MR MR Q Q Q1 0 0 กรณีกำไรเกินปกติ
การตั้งราคาสินค้าในตลาดผูกขาดการตั้งราคาสินค้าในตลาดผูกขาด P P MC MC ATC C,P1 C ATC ATC P1 P,D,AR P,D,AR MR MR Q Q Q1 0 0 กรณีขาดทุน กรณีกำไรปกติ
การตั้งราคาสินค้าในตลาดผูกขาดการตั้งราคาสินค้าในตลาดผูกขาด P TR MC MR TC Q 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 5.00 4.80 4.60 4.40 4.20 4.00 3.80 3.60 3.40 3.20 3.00 0.00 4.80 9.20 13.20 16.80 20.00 22.80 25.20 27.20 28.80 30.00 - 4.80 4.40 4.00 3.60 3.20 2.80 2.40 2.00 1.60 1.20 0.00 3.75 7.45 11.10 14.70 18.00 20.90 23.80 27.20 30.60 35.00 - 3.75 3.70 3.65 3.60 3.30 2.90 2.90 3.40 3.50 4.40 10
การตั้งราคาสินค้าในตลาดผูกขาดการตั้งราคาสินค้าในตลาดผูกขาด TR = 300 Q - 0.001 Q2 TC = 9,000,000 + 20 Q + 0.0004 Q2 ณ จุดกำไรสูงสุด MR = MC MR = 300 - 0.002 Q MC = 20 + 0.0008 Q
การตั้งราคาสินค้าในตลาดผูกขาดการตั้งราคาสินค้าในตลาดผูกขาด ดังนั้น 300 - 0.002 Q = 20 + 0.0008 Q 0.0028 Q = 280 Q = 100,000 โดยที่ P = TR Q = 300 Q - 0.001 Q2 Q = 300 - 0.001 Q = 300 - 0.001 (100,000) = 200
การตั้งราคาสินค้าในตลาดผูกขาดการตั้งราคาสินค้าในตลาดผูกขาด = TR - TC = 300Q - 0.001Q2 - 9,000,000 - 20Q - 0.0004Q2 = - 0.0014Q2 + 280Q - 9,000,000 = - 0.0014 (100,000)2 + 280 (100,000) - 9,000,000 = 5,000,000
การกำหนดราคาหลายระดับ การกำหนดราคาหลายระดับ หมายถึง การกำหนดราคาสินค้าชนิดเดียวกันให้ต่างกันไป สำหรับผู้บริโภคในแต่ละตลาด ทั้ง ๆ ที่ต้นทุนการผลิตเท่ากัน วัตถุประสงค์ของการตั้งราคา 1. เพื่อการเพิ่มกำไร 2. เพิ่มปริมาณการขายและรายรับทั้งหมด 3. ขยายตลาด 4. ลดต้นทุนการผลิต นโยบายบางประการในการกำหนดราคา
มี 3 ระดับ คือ 1. การแบ่งแยกราคาขายระดับที่หนึ่ง (First degree price discrimination) P ส่วนเกินผู้บริโภค = APN A MC N P L P,D,AR MR Q 0 M ระดับการแบ่งแยกราคาขาย
2. การแบ่งแยกราคาขายระดับที่สอง (Second degree price discrimination) P A P1 (10) B (8) P2 C (6) P3 AR Q 1,500 2,000 0 1,000 ระดับการแบ่งแยกราคาขาย
3. การแบ่งแยกราคาขายระดับที่สาม (Third degree price discrimination) ตลาด A ความยืดหยุ่นต่ำ ตลาด B ความยืดหยุ่นสูง ดุลยภาพของตลาดผูกขาด P,TR P,TR P,TR MC PA PB C E ART ARA MRA MRB ARB MRT Q Q Q 0 qA 0 qB 0 Q = qA + qb การกำหนดราคาหลายระดับระดับที่สาม ระดับการแบ่งแยกราคาขาย
1. การกำหนดราคาและปริมาณ ต้นทุน , รายรับ MC ATC E1 P1 E P2 B C AR , P MR ปริมาณ 0 Q1 Q2 การผูกขาดภายใต้การควบคุมของรัฐ
การผูกขาดภายใต้การควบคุมของรัฐการผูกขาดภายใต้การควบคุมของรัฐ การตั้งราคาเพื่อให้ได้รับกำไรสูงสุด MC = MR จะตั้งราคา ที่ OP1 จำนวนผลิต OQ1 กำไรเกินปกติ P1E1BC ราคา OP1เป็นราคาผูกขาด (Monopoly Price) เมื่อรัฐเข้าควบคุม จะกำหนดราคาที่ OP2 เป็นราคายุติธรรม (Fair Price) คือจุดที่ AR = ATC ผู้ผูกขาดจะได้รับเพียงกำไรปกติเท่านั้น
2. การควบคุมการผูกขาดโดยใช้นโยบายภาษี 2.1 ผลของการเก็บภาษีต่อหน่วย ต้นทุน , รายรับ MCT ATCT MC ATC PT P CT C AR , P MR ปริมาณ 0 QT Q การผูกขาดภายใต้การควบคุมของรัฐ
2.2 ผลของการเก็บภาษีเหมาจ่าย (เก็บเป็นจำนวนที่ตายตัว ไม่ว่าจะผลิตเท่าไรก็ตาม) MC = MCT ต้นทุน , รายรับ ATCT ATC A P CT D B C AR , P MR ปริมาณ 0 Q การผูกขาดภายใต้การควบคุมของรัฐ
TC TC , TR TR TFC Q 0 Q0 Q1 Q2 TC , TR MC ATC A P B C AR = P = D MR Q 0 Q1 Q2 กำไร E TNP F 0 Q Q0 Q1 Q2 TFC ดุลยภาพในระยะสั้นตลาดผูกขาดกรณีกำไรเกินปกติ
TC , TR TC TR TFC Q 0 Q0 Q1 TC , TR MC ATC SP AR MR Q 0 Q1 กำไร R TNP 0 Q Q1 TFC ดุลยภาพของผู้ผูกขาดในระยะสั้นกรณีได้รับกำไรปกติ
TC TC , TR TVC S R TR N TFC Q 0 Q1 MC TC , TR ATC D AVC E P A B C AR MR Q 0 Q1 กำไร Q1 Q G TFC TFC L ดุลยภาพของผู้ผูกขาดในระยะสั้นแต่ยังคงทำการผลิตต่อไปเนื่องจาก TR > TVC