320 likes | 538 Views
โดย พ.ต.อ.ธวัช ประสพพระ รอง ผบก.วน. โทร.081 - 3254740. การรายงานการดำเนินการทางวินัย. การรายงานการ ดำเนินการทางวินัย. ตามระเบียบ ก.ตร.ว่าด้วยการรายงานการดำเนินการทางวินัย และการออกจากราชการ พ.ศ.2547. การดำเนินการทาง วินัยอย่างไม่ ร้ายแรง. ผู้บังคับบัญชาได้ดำเนินการทางวินัยไปแล้ว
E N D
โดย พ.ต.อ.ธวัช ประสพพระ รอง ผบก.วน. โทร.081 - 3254740 การรายงานการดำเนินการทางวินัย
การรายงานการดำเนินการทางวินัยการรายงานการดำเนินการทางวินัย ตามระเบียบ ก.ตร.ว่าด้วยการรายงานการดำเนินการทางวินัย และการออกจากราชการ พ.ศ.2547
การดำเนินการทางวินัยอย่างไม่ร้ายแรงการดำเนินการทางวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ผู้บังคับบัญชาได้ดำเนินการทางวินัยไปแล้ว - สั่งยุติเรื่อง งดโทษ หรือลงโทษไปภายในอำนาจ รายงานผลต่อผู้บังคับบัญชาเหนือผู้ดำเนินการทางวินัยและ ผบ.ตร. - รายงานผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือพร้อมสำนวนหรือเอกสารการพิจารณา - รายงาน ผบ.ตร.เฉพาะสำเนาคำสั่งที่เกี่ยวข้อง 3 ฉบับ รายงานภายใน 10 วัน นับแต่วันสั่ง( ข้อ 3)
การดำเนินการทางวินัยอย่างร้ายแรงการดำเนินการทางวินัยอย่างร้ายแรง ผู้บังคับบัญชาอื่นยกเว้น ผบ.ตร.ได้ดำเนินการทางวินัยไปแล้ว - สั่งยุติเรื่อง งดโทษ หรือลงโทษ รายงานผลต่อผู้บังคับบัญชาซึ่งเป็นหัวหน้าหน่วยงานเหนือขึ้นไปหนึ่งชั้น พร้อมสำนวนการสอบสวนหรือเอกสารเกี่ยวกับการพิจารณา - รายงาน ผบ.ตร. ภายใน 10 วัน นับแต่วันสั่ง
การพิจารณาของผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือการพิจารณาของผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือ ได้รับรายงานความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง - เห็นว่าเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง - รายงานความเห็นพร้อมสำนวนการสอบสวนและหรือเอกสารการพิจารณาในเบื้องต้น - ไปยังผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ - ภายในสิบวันนับแต่วันมีความเห็น ผบ.ตร.หรือผู้รับมอบอำนาจเห็นว่าเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรงให้ดำเนินการไปภายในอำนาจ
ผบ.ตร.หรือผู้ได้รับมอบอำนาจผบ.ตร.หรือผู้ได้รับมอบอำนาจ ได้ดำเนินการทางวินัยอย่างร้ายแรงหรือได้รับรายงานการดำเนินการทางวินัยอย่างร้ายแรงของผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือ - รายงานผลพร้อมสำนวนการสอบสวนหรือเอกสารที่เกี่ยวกับการพิจารณาไป ก.ตร.ภายใน 10 วัน นับแต่วันพิจารณามีความเห็น - เมื่อผู้บังคับบัญชาได้สั่งให้ข้าราชการตำรวจออกจากราชการให้รายงานไป ก.ตร.พร้อมสำนวนการสอบสวนและเอกสารการพิจารณาภายใน 10 วัน นับแต่วันที่พิจารณามีความเห็น
การดำเนินการทางวินัยถึงที่สุดเมื่อใดการดำเนินการทางวินัยถึงที่สุดเมื่อใด กรณีความผิดวินัยไม่ร้ายแรงเมื่อผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือดำเนินการตามอำนาจหน้าที่แล้ว และ ผบ.ตร.เห็นว่าไม่เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ผบ.ตร.เป็นผู้ดำเนินการทางวินัย และได้สั่งการทางวินัยไปแล้ว ตามผลการพิจารณาอุทธรณ์ กรณีความผิดวินัยอย่างร้ายแรงถึงที่สุดที่ ก.ตร.
การรายงานการดำเนินการทางวินัยการรายงานการดำเนินการทางวินัย ตามคำสั่ง ตร.ที่ 436/2548 ลง 20 มิ.ย.2548 เรื่องมอบอำนาจการดำเนินการทางวินัย การสั่งให้ข้าราชการตำรวจออกจากราชการและกำหนดแนวทางปฏิบัติ
คำสั่ง ตร.ที่ 436/2548 ลง 20 มิ.ย.48 เรื่องมอบอำนาจการดำเนินการทางวินัย และกำหนดแนวทางปฏิบัติ ขอบเขตคำสั่ง 1.มอบอำนาจ 2.การรายงาน 3.กำหนดแนวทางปฏิบัติใหม่ การบังคับใช้ 1.กรณีกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง 2.กรณีกระทำผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง
ผู้บังคับบัญชาระดับต่ำกว่า ผกก.(ข้อ 2.1)(รอง สว.,สว.และ รอง ผกก.) การดำเนินการทางวินัยอย่างไม่ร้ายแรง) ผู้บังคับบัญชา - ตั้งกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริง,หรือสั่งให้สืบสวนข้อเท็จจริง` - สั่งลงโทษ ยุติเรื่อง งดโทษ (ว่ากล่าวตักเตือน) รายงาน ผบ.ตร.(ม.91 วรรคหนึ่ง และข้อ 9 ภายใน 10 วัน) รายงาน ผกก.หรือเทียบเท่า (พร้อมสำนวน) พิจารณาสั่งการตาม ม.91 วรรคสอง (ผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือ) ผกก.รายงาน ผบก.(พร้อมสำนวนภายใน 10 วัน) พิจารณาสั่งการตาม ม.91 วรรคสาม
ผบก.เห็นว่าการดำเนินการของ ผกก.ถูกต้องเหมาะสม และไม่เป็นความผิดวินัยร้ายแรงให้การดำเนินการทางวินัยถึงที่สุด - ผบก.รายงาน วน.ทราบเป็นสถิติข้อมูล (ข้อ 2.1.1) ผบก.เห็นว่าเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง - ให้ตั้งกรรมการสอบสวนตามมาตรา 86 - เมื่อสั่งการไปภายในอำนาจ(ยุติเรื่อง งดโทษ ลงโทษ ปลดออก ไล่ออก ให้ออก ม.102) - รายงานไป ก.ตร.และ ผบ.ตร.ทราบ (ข้อ 2.1.2)
ผู้บังคับบัญชาระดับ ผกก.(ข้อ 2.2)(ต่ำกว่า ผกก.ที่ขึ้นตรงต่อ ผบก.) ผู้บังคับบัญชา (ผกก.หรือต่ำกว่า) - ตั้งกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริง,สั่งให้สืบสวนข้อเท็จจริง - สั่งลงโทษ ยุติเรื่อง งดโทษ (ว่ากล่าวตักเตือน) รายงาน ผบ.ตร.(ม.91 วรรคแรก และข้อ 9 ภายใน 10 วัน) รายงาน ผบก.หรือเทียบเท่า(พร้อมสำนวน) พิจารณาสั่งการตาม ม.91 วรรคสอง (ผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือ) ผบก.รายงาน ผบช.(พร้อมสำนวนภายใน 10 วัน) พิจารณาสั่งการตาม ม.91 วรรคสาม ว่าการดำเนินการเป็นความผิดวินัยร้ายแรงหรือไม่
ผบช.เห็นว่าการดำเนินการของ ผกก.ถูกต้องเหมาะสม และไม่เป็นความผิดวินัยร้ายแรงให้การดำเนินการทางวินัยถึงที่สุด - ผบช.รายงาน วน.ทราบเป็นสถิติข้อมูล(ข้อ 2.2.1) ผบช.เห็นว่าเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง - ให้ตั้งกรรมการสอบสวนตามมาตรา 86 - เมื่อสั่งการไปภายในอำนาจ(ยุติเรื่อง งดโทษ ลงโทษ ปลดออก ไล่ออก ให้ออก ม.102) - รายงานไป ก.ตร.และ ผบ.ตร.ทราบ (ข้อ 2.2.2)
ผู้บังคับบัญชาระดับ ผบก.(ข้อ 2.3)(ต่ำกว่า ผบก.ที่ขึ้นตรงต่อ ผบช.) ผู้บังคับบัญชา (ผบก.หรือต่ำกว่า) - ตั้งกรรมการสอบสวน,สืบสวน,พักราชการ,ให้ออกไว้ก่อน - สั่งลงโทษ ยุติเรื่อง งดโทษ (ว่ากล่าวตักเตือน) รายงาน ผบ.ตร.(ม.91 วรรคหนึ่ง และข้อ 9 ภายใน 10 วัน) รายงาน ผบช.หรือเทียบเท่า(พร้อมสำนวนภายใน 10 วัน) พิจารณาสั่งการตาม ม.91 วรรคสอง(ผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือ) ผบช พิจารณาสั่งการตาม ม.91 วรรคสาม ว่าการดำเนินการเป็นความผิดวินัยร้ายแรงหรือไม่
ผบช.เห็นว่าการพิจารณาสั่งการของ ผบก.ถูกต้องเหมาะสม และไม่เป็นความผิดวินัยร้ายแรงให้การดำเนินการทางวินัยถึงที่สุด - ผบช.รายงาน วน.ทราบเป็นสถิติข้อมูล (ข้อ 2.3.1) ผบช.เห็นว่าเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง - ให้ตั้งกรรมการสอบสวนตามมาตรา 86 - เมื่อสั่งการไปภายในอำนาจ(ยุติเรื่อง งดโทษ ลงโทษ ปลดออก ไล่ออก ให้ออก ม.102) - รายงานไป ก.ตร.และ ผบ.ตร.ทราบ (ข้อ 2.3.2)
ผู้บังคับบัญชาระดับ ผบช.(ข้อ 2.4) ผู้บังคับบัญชา (ผบช) - ตั้งกรรมการสอบสวน,สืบสวน,พักราชการ,ให้ออกไว้ก่อน - สั่งลงโทษ ยุติเรื่อง งดโทษ(ว่ากล่าวตักเตือน) รายงาน ผบ.ตร.(ม.91 วรรคสอง)พร้อมสำนวนการสืบสวนภายใน 10 วันนับแต่วันสั่ง
ผบตร.เห็นว่าการพิจารณาสั่งการของ ผบช.ถูกต้องเหมาะสม และไม่เป็นความผิดวินัยร้ายแรงให้การดำเนินการทางวินัยถึงที่สุด - วน.เก็บเป็นสถิติข้อมูล (ข้อ 2.5 วรรคแรก) ผบ.ตร.เห็นว่าเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง - ให้ตั้งกรรมการสอบสวนตามมาตรา 86 - เมื่อสั่งการไปภายในอำนาจ(ยุติเรื่อง งดโทษ ลงโทษ ปลดออก ไล่ออก ให้ออก ม.102) - รายงานไป ก.ตร.ทราบ (ข้อ 2.5 วรรคสอง)
การดำเนินการทางวินัยอย่างร้ายแรงผู้บังคับบัญชาระดับ ผบก.หรือเทียบเท่า ดำเนินการทางวินัยอย่างร้ายแรงโดยสั่งลงโทษ - ปลดออก - ไล่ออก - ให้ออกเพราะมีมลทินหรือมัวหมอง ให้รายงาน - ก.ตร.,ผบ.ตร.และ - ผบช.หรือเทียบเท่า(ข้อ 3.1)
ผู้บังคับบัญชาระดับ ผบก.หรือเทียบเท่า สั่งลงโทษตามมาตรา 89 สั่งยุติเรื่องหรืองดโทษไปภายในอำนาจ รายงาน ผบ.ตร.(ม.91 วรรคหนึ่ง และข้อ 9) รายงาน ผบช.หรือเทียบเท่า(พร้อมสำนวนภายใน 10 วัน) พิจารณาสั่งการตาม ม.91 วรรคสอง ผบช. พิจารณาสั่งการตาม ม.91 วรรคสาม ว่าการดำเนินการเป็นความผิดวินัยร้ายแรงหรือไม่
ผบช.เห็นว่าการพิจารณาสั่งการของ ผบก.ถูกต้องเหมาะสมให้รายงาน ก.ตร.และ ผบ.ตร.ทราบ ผบช.เห็นว่าเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง - ให้ดำเนินการตามมาตรา 90 - เมื่อสั่งลงโทษปลดออก หรือไล่ออก หรือสั่งให้ออกเพราะมีมลทินหรือมัวหมอง ตามาตรา 102 ให้รายงานไป ก.ตร.และ ผบ.ตร.ทราบ
การดำเนินการทางวินัยอย่างร้ายแรงผู้บังคับบัญชาระดับ ผบช.หรือเทียบเท่า ดำเนินการทางวินัยอย่างร้ายแรงโดยสั่งลงโทษ - ปลดออก - ไล่ออก - ให้ออกเพราะมีมลทินหรือมัวหมอง ให้รายงาน - ก.ตร., - ผบ.ตร.(ข้อ 3.3)
ผู้บังคับบัญชาระดับ ผบช.หรือเทียบเท่า สั่งลงโทษตามมาตรา 89 (สั่งยุติเรื่องหรืองดโทษไปภายในอำนาจ) รายงาน ผบ.ตร.หรือเทียบเท่า(พร้อมสำนวนภายใน 10 วัน) พิจารณาสั่งการตาม ม.91 วรรคสอง ผบ.ตร.เห็นว่าการพิจารณาสั่งการของ ผบช.ถูกต้องเหมาะสมให้รายงาน ก.ตร. ผบ.ตร.เห็นว่าเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง - ให้ดำเนินการตามมาตรา 90 - เมื่อสั่งลงโทษปลดออก หรือไล่ออก หรือสั่งให้ออกเพราะมีมลทินหรือมัวหมอง ตามาตรา 102 ให้รายงานไป ก.ตร.
ผู้กระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรงผู้กระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ตำแหน่ง ผกก.,พงส.ผู้ทรงคุณวุฒิหรือเทียบเท่า กระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ให้ ผบก.หรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า ในส่วนราชการนั้นเป็นผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนตามมาตรา 86 ตำแหน่ง ผบก.,พงส.ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ กระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ให้ ผบช.หรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า ในส่วนราชการนั้นเป็นผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนตามมาตรา 86 ถ้าละเลยไม่ดำเนินการทางวินัยผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปจะดำเนินการเองและจะพิจารณาโทษผู้บังคับบัญชาที่ละเลย (ข้อ 5)
ผู้กระทำผิดอยู่ต่างสังกัดผู้กระทำผิดอยู่ต่างสังกัด ให้ผู้บังคับบัญชาเสนอเรื่องให้ผู้บังคับบัญชาผู้มีอำนาจพิจารณาสั่งการสำหรับผู้ถูกกล่าวหาทุกคน เป็นผู้พิจารณาสั่ง หรือเป็นผู้สั่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน (ข้อ 6) ให้พิจารณาสั่งถอดยศทุกรายที่อยู่ในหลักเกณฑ์การถอดยศ (ข้อ 7) ให้ผู้บังคับบัญชาตามมาตรา 72 (2) (3) (4) หรือผู้ได้รับมอบอำนาจเป็นผู้พิจารณาเรื่องสิทธิประโยชน์ของข้าราชการตำรวจที่ถูกดำเนินการทางวินัย (ข้อ 8)
การพิจารณาสั่งการของผู้รับมอบอำนาจการพิจารณาสั่งการของผู้รับมอบอำนาจ ให้พิจารณาสั่งการตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อเท็จจริง วินิจฉัยเปรียบเทียบพยานหลักฐานด้วยความเป็นธรรม พิจารณาพฤติกรรมโดยคำนึ่งถึงคุณลักษณะของการเป็นตำรวจที่ดี กรณีผู้รับมอบอำนาจปฏิบัติโดยไม่สมควร ไม่ถูกต้องเหมาะสม ตร.จะแนะนำ กำกับ และติดตามให้ผู้รับมอบอำนาจปฏิบัติให้ถูกต้อง หากไม่ปฏิบัติจะถือว่าขัดคำสั่ง และ ตร.จะแก้ไขให้ถูกต้องเหมาะสม (ข้อ 15)
คำนิยาม ไม่ถูกต้อง หมายถึง ความไม่ชอบด้วยกฎหมายในเรื่องเกี่ยวกับอำนาจตามกฎหมายของผู้ดำเนินการทางวินัย และความไม่ชอบด้วยกฎหมายที่เกี่ยวกับรูปแบบ ขั้นตอนและวิธีการของกระบวนการดำเนินการทางวินัยที่กฎหมายกำหนด ไม่เหมาะสม หมายถึงความไม่เหมาะสมในการใช้ดุลพินิจของผู้มีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายของผู้ดำเนินการทางวินัย ทั้งดุลพินิจในการวิเคราะห์ข้อเท็จจริง ดุลพินิจในการตีความข้อกฎหมาย และดุลพินิจในการปรับบทข้อกฎหมาย ดุลพินิจในการเลือกมาตรการลงโทษทางวินัย และการใช้ดุลพินิจโดยไม่สุจริต
อุดมคติตำรวจเคารพเอื้อเฟื้อต่อหน้าที่กรุณาปราณีต่อประชาชนอดทนต่อความเจ็บใจไม่หวั่นไหวต่อความยากลำบากไม่มักมากในลาภผลมุ่งบำเพ็ญตนให้เป็นเป็นประโยชน์ต่อประชาชนดำรงตนในยุติธรรมกระทำการด้วยปัญญารักษาความไม่ประมาทเสมอชีวิตอุดมคติตำรวจเคารพเอื้อเฟื้อต่อหน้าที่กรุณาปราณีต่อประชาชนอดทนต่อความเจ็บใจไม่หวั่นไหวต่อความยากลำบากไม่มักมากในลาภผลมุ่งบำเพ็ญตนให้เป็นเป็นประโยชน์ต่อประชาชนดำรงตนในยุติธรรมกระทำการด้วยปัญญารักษาความไม่ประมาทเสมอชีวิต
สวัสดี ขอให้มีความสุขและเดินทางโดยสวัสดิภาพ