1 / 34

การสร้างความรู้ความเข้าใจ และ ตระหนักถึงการเป็นประชาคมอาเซียน

การสร้างความรู้ความเข้าใจ และ ตระหนักถึงการเป็นประชาคมอาเซียน. จุดเริ่มต้นของอาเซียน.

rose-ramsey
Download Presentation

การสร้างความรู้ความเข้าใจ และ ตระหนักถึงการเป็นประชาคมอาเซียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสร้างความรู้ความเข้าใจ และ ตระหนักถึงการเป็นประชาคมอาเซียน

  2. จุดเริ่มต้นของอาเซียนจุดเริ่มต้นของอาเซียน เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 รมว.กต. อินโดนีเซีย (นายอาดัม มาลิก) มาเลเซีย (ตุน อับดุล ราซัก บิน ฮุสเซน) ฟิลิปปินส์ (นายนาซิโซ รามอส) สิงคโปร์ (นายเอส ราชารัตนัม) และไทย (พันเอก ถนัด คอมันตร์) ลงนาม ใน “ปฏิญญากรุงเทพฯ” (Bangkok Declaration) สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  3. ASEAN Factsheet • สมาชิกผู้ก่อตั้งปี 2510 • ไทย • มาเลเซีย • อินโดนีเซีย • ฟิลิปปินส์ • สิงคโปร์ สมาชิกเพิ่มเติม + บรูไน ดารุสซาลาม ปี 2527 + เวียดนาม ปี 2538 + ลาว ปี 2540 + พม่า ปี 2540 + กัมพูชา ปี 2542 ประชากร - 620 ล้านคน (เมื่อปี 2555) พื้นที่- 4.5 ล้าน ตาราง กม. มีทั้งศาสนา- อิสลาม พุทธ คริสต์ ฮินดู ขนาดเศรษฐกิจรวม (Combined GDP) เท่ากับ 2.3 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ (อันดับ 9 ทั่วโลก) นักท่องเที่ยว 90 ล้านคนต่อปี สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  4. ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก ธำรงสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง เสริมสร้างเศรษฐกิจและความอยู่ดีกินดีของประชาชน พัฒนาสังคมและวัฒนธรรม ส่งเสริมความร่วมมือกับภายนอก และองค์การระหว่างประเทศต่างๆ จุดประสงค์ในการก่อตั้งอาเซียน สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  5. อาเซียนกับประเทศไทย เป็นกลไกสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ รักษาสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย อาเซียนเป็นคู่ค้าและเป็นตลาดส่งออกอันดับ 1 ของไทย ตั้งแต่ 2545 และเป็นแหล่งนำเข้าอันดับที่ 2 ตั้งแต่ 2540 จนถึงปัจจุบัน และปัจจุบันมีมูลค่าการค้าระหว่างไทยกับอาเซียน คิดเป็นประมาณร้อยละ 25 ของมูลค่าการค้าทั้งหมดของไทย และไทยได้เปรียบดุลการค้าตลอด สมาชิกอาเซียนเข้ามาลงทุนในไทย ประมาณ 20% ของการลงทุนจากต่างประเทศทั้งหมด นักท่องเที่ยว 4.5 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 30 ของนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมด (มาเลเซียมาไทยมากที่สุด) สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  6. อาเซียนกับประเทศนอกภูมิภาคอาเซียนกับประเทศนอกภูมิภาค India Canada Russia Australia U.S.A. New Zealand E.U. Republic of Korea UN China Japan สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  7. ASEAN Connectivity:การเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน การส่งเสริมการเชื่อมโยงส่งเริมให้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนมีความสามารถในการแข่งขันมากขึ้น โดยเน้น การเชื่อมโยง 3 มิติ • การเชื่อมโยงด้านกายภาพ: พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การคมนาคม เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร และพลังงาน • การเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบ: ช่วยอำนวยความสะดวกในการทำธุรกรรมการค้า เช่น Single Window, การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี 8 สาขาอาชีพ: วิศวกร พยาบาล แพทย์ ทันตแพทย์ สถาปนิก นักสำรวจ นักบัญชี การท่องเที่ยว • การเชื่อมโยงประชาชนสู่ประชาชน: ส่งเสริมให้ประชาชนอาเซียนสามารถไปมาหาสู่กันได้ง่ายขึ้น สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  8. ASEAN Connectivity:การเชื่อมโยง ระหว่างกันในอาเซียน สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  9. 3 เสาหลักของประชาคมอาเซียน 1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community - APSC) 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community - AEC) 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community - ASCC) สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand) สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  10. 3 เสาหลักของประชาคมอาเซียน 1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community - APSC) 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community - AEC) 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community - ASCC) สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  11. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community: APSC) ASEAN Political-Security Community ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคง และมีเสถียรภาพทางการเมือง สร้างกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกันด้านประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน การสร้างความมั่นคงที่ครอบคลุมรอบด้าน เช่น ปัญหายาเสพติด โรคระบาด ภัยพิบัติธรรมชาติ อาชญากรรมข้ามชาติ สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  12. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community - AEC) • เปิดเสรีทาง • การค้า • การบริการ • การลงทุน • เงินทุนเคลื่อนย้ายเสรีมากขึ้น • คุ้มครองผู้บริโภค • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน • นโยบายการแข่งขัน • ฯลฯ • สร้างเครื่อข่ายความร่วมมือ • จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค • สนับสนุน SMEs • ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิก สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  13. AEC…โอกาสและความท้าทายของประเทศไทยAEC…โอกาสและความท้าทายของประเทศไทย สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  14. AEC…โอกาสและความท้าทายของประเทศไทยAEC…โอกาสและความท้าทายของประเทศไทย สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  15. การเปิดเสรีด้านการบริการการเปิดเสรีด้านการบริการ ได้มีการแบ่งการเปิดเสรีการบริการเป็น 4 รูปแบบ ตามรูปแบบการค้าบริการ (Mode) กล่าวคือ • Mode 1– Cross Border Supply • (การให้บริการข้ามพรมแดน) ยกตัวอย่างเช่น การ • รักษาพยาบาลทางไกล การเรียนการสอนออนไลน์ • Mode 2 – Consumption Abroad • (การเดินทางไปใช้บริการในต่างประเทศ) เช่น ลูกค้า • สามารถเดินทางไปท่องเที่ยว รักษาพยาบาล หรือเดินทางไป • ศึกษาต่อต่างประเทศได้สะดวกยิ่งขึ้น สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  16. การเปิดเสรีด้านการบริการ (ต่อ) • Mode 3 – Commercial Presence (การจัดตั้งธุรกิจ) ยกตัวอย่างเช่น การจัดตั้ง สถาบันการศึกษา ต้องมีการลงทุนร่วมกับสถาบันท้องถิ่น Mode 4 – Movement of Natural Persons (การเคลื่อนย้ายบุคลากรวิชาชีพ) ซึ่งรวมถึงการเคลื่อนย้าย 8 สาขาวิชาชีพ และการแลกเปลี่ยนนักวิจัย อาจารย์ ในอาเซียน สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  17. นักสำรวจ วิศวกร MRA? Mutual Recognition Arrangement ข้อตกลงยอมรับร่วมคุณสมบัตินักวิชาชีพ ซึ่งเป็นข้อตกลงคุณสมบัติยอมรับร่วมกัน เช่น เรื่องการศึกษา และประสบการณ์การทำงานซึ่งเป็นเงื่อนไขในการได้รับอนุญาตให้ทำงาน ในประเทศนั้น ๆ ไม่ใช่การเปิดตลาด แต่เป็นเพียงการอำนวยความสะดวกในขั้นตอนการขอรับใบอนุญาต พยาบาล สถาปนิก ทันตแพทย์ แพทย์ นักบัญชี การท่องเที่ยว สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  18. ยุทธศาสตร์การพัฒนาตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 AEC กับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 • 1. การสร้างความเป็นธรรมในสังคม • 2. การพัฒนาคนสู่สังคมการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน • 3. การสร้างความเข้มแข็งภาคเกษตร เพื่อความมั่นคงทางอาหารและพลังงาน • 4. การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน • 5. การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาค • 6. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  19. AEC แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 • - พัฒนาความเชื่อมโยงด้านการขนส่ง • โลจิสติกส์ ภายใต้กรอบความร่วมมือในอนุภูมิภาคต่าง ๆ • การเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจในภูมิภาคด้านพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การเคลื่อนย้ายแรงงาน และการส่งเสริมแรงงานไทยในประต่างประเทศ • การเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเป็นฐานด้านอุตสาหกรรม การเกษตร และการท่องเที่ยว • เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม • - เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี • - เคลื่อนย้ายบริการเสรี • - เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี • - เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรี สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  20. AEC แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน - e-ASEAN - นโยบายภาษี - นโยบายการแข่งขัน - สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา - การคุ้มครองผู้บริโภค - พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน • - การใช้เทคโนโลยีและความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อเป็นพลังขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน • พัฒนาฐานการลงทุนโดยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในอนุภูมิภาค • การเร่งรัดการใช้ประโยชน์จากข้อตกลงการค้าเสรีที่มีผลบังคับใช้แล้ว • กำหนดมาตรฐานพื้นฐานของคุณภาพสินค้าและบริการ เพื่อป้องกันการนำเข้าสินค้าและบริการที่ไม่มีคุณภาพ สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  21. AEC แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 • - ปรับปรุงและเสริมสร้างความเข็มแข็งของภาคี การพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศตั้งแต่ระดับชุมชนท้องถิ่น • สร้างความเข็มแข็งให้กับผู้ประกอบการ โดยเฉพาะ SMEs ให้สอดคล้องกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจในภูมิภาค 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค - ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่าง สมาชิกเก่า-ใหม่ - สนับสนุนการพัฒนา SMEs สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  22. AEC แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 • เข้าร่วมเป็นภาคีความร่วมมือระหว่างประเทศ และภูมิภาคโดยมีบทบาทที่สร้างสรรค์ • เสริมสร้างความร่วมมือที่ดี ระหว่างประเทศในการสนับสนุน การเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีจริยธรรมและรักษาสิ่งแวดล้อม 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจ - ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ - สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย - จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  23. ส่งเสริม ‘อัตลักษณ์’ ของอาเซียนโดยการสร้างความเข้าใจซึ่งกันและกันระหว่างประชาชนในประเทศสมาชิกอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) • เป็นสังคมที่สมาชิกมีความเอื้ออาทรต่อกัน ประชากรมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี ได้รับการพัฒนาในทุกด้าน และมีความมั่นคงทางสังคม • ส่งเสริมความร่วมมือในด้านต่าง ๆ อาทิ - พัฒนาด้านสังคม/ การคุ้มครองทางสังคม - พัฒนาการศึกษา - พัฒนาด้านสาธารณะสุข สิ่งแวดล้อม สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  24. ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุ่มสมาชิกอาเซียนความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุ่มสมาชิกอาเซียน • กลุ่มวัฒนธรรมพุทธศาสนา > ไทย ลาว พม่า กัมพูชา • กลุ่มวัฒนธรรมจีน > เวียดนาม สิงคโปร์ • กลุ่มวัฒนธรรมตะวันตก> ฟิลิปปินส์ • กลุ่มวัฒนธรรมมุสลิม > อินโดนีเซีย บรูไน มาเลเซีย สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  25. สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  26. Opportunity...โอกาสของประชาคมอาเซียนOpportunity...โอกาสของประชาคมอาเซียน ประชากรกว่า 620 ล้านคน 1. ปี 2010 ภาษี 0% ในอาเซียน 6 ประเทศ และจะเป็น Single market สมบูรณ์ในปี 2015 2. เป็นประชาคมแห่งการเชื่อมโยงทั้งภูมิภาค 3. มีระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรีและเปิดกว้างมากขึ้น 4. เป็นภูมิภาคที่มีความสมบูรณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ - แร่ธาตุ 5. สามารถเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือภายในภูมิภาคได้ สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  27. Opportunity...โอกาสของประชาคมอาเซียนOpportunity...โอกาสของประชาคมอาเซียน 6. มีความร่วมมือในภูมิภาคมากขึ้น 7. เป็นภูมิภาคที่มีแหล่งดึงดูดด้านการท่องเที่ยวที่สำคัญของโลก 8. การค้ากับโลก Inter Region และความร่วมมือระหว่างกลุ่มอาเซียน กับประเทศคู่ค้า เช่น ASEAN +3, ASEAN-China เป็นต้น 9. เส้นทางคมนาคมระหว่างประเทศใหม่ ๆ เช่น East-West Corridor, North –South Corridor 10. ฐานการผลิตสินค้าเกษตร 11. เป็นแหล่งผลิตพลังงานทดแทน 12. เป็นฐานแรงงานจำนวนมาก สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  28. Challenge… ความท้าทายในปัจจุบัน โลกาภิวัตน์: การเคลื่อนย้ายอย่างเสรีของ 4 กระแส TECHNOLOGY & KNOWLEDGE PEOPLE FREE FLOW TRADE & SERVICES CAPITAL สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  29. Challenge…ความท้าทายของประชาคมอาเซียนChallenge…ความท้าทายของประชาคมอาเซียน 1. กฎ ระเบียบ ที่แตกต่างกันและมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ อาจทำให้เกิดความแตกต่างด้านต้นทุน 2. ระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานในบางประเทศ ยังอยู่ระหว่างการพัฒนา เช่น เส้นทางการคมนาคม อาจทำให้ต้นทุนของผู้ประกอบการสูงขึ้น 3. ความแตกต่างด้านวัฒนธรรม สังคม การเมือง และเศรษฐกิจ 4. สินค้าที่ผลิตเพื่อส่งออกไปยังภูมิภาคอาเซียนส่วนใหญ่จะแข่งขันกันเอง 5. ผู้ประกอบการยังขาดทักษะ ความเข้าใจ ในด้านกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา อาจทำให้สินค้าโดนลอกเลียนแบบทั้งรูปลักษณ์ ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร และเครื่องหมายการค้า สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  30. Challenge…ความท้าทายของประชาคมอาเซียนChallenge…ความท้าทายของประชาคมอาเซียน 6. การเปิดเสรีทำให้มีการหลั่งไหลของการลงทุนจากทั้งในและนอกอาเซียน เช่น จีน ไต้หวัน 7. การแข่งขันทางการค้าทั้งในและนอกภูมิภาค 8. ปัญหาชายแดน สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  31. สภาวการณ์ของโลกและมิติต่างประเทศที่เปลี่ยนแปลงไปสภาวการณ์ของโลกและมิติต่างประเทศที่เปลี่ยนแปลงไป การเคลื่อนย้ายอย่างเสรีของ 4 กระแส (การค้าและบริการ/เงินทุน/คน/เทคโนโลยีและความรู้) วิกฤติเศรษฐกิจ การก่อการร้าย อาชญากรรมข้ามชาติ สิทธิมนุษยชน ความมั่นคงทางอาหารและพลังงาน บทบาทของประเทศใหญ่ การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  32. สิ่งที่จะเกิดขึ้นในปี 2558 คือ… • ภัยคุกคามจากการเปิดเสรี • แรงงานโยกย้าย • อาชญากรรมระหว่างประเทศ • สินค้า เงินทุน แรงงานนอกระบบอาจเพิ่ม การค้าตามแนวชายแดนสูงขึ้น -ผู้ประกอบการขนาดเล็กและขนาดกลาง ระบบบริหารตามชายแดนเปลี่ยนไป -บทบาทใหม่ของการปกครองในพื้นที่ • ความสัมพันธ์ทางสัมคมอาจเปลี่ยนไป • แรงงานโยกย้าย • การแลกเปลี่ยนทางการศึกษาและการท่องเที่ยว • การค้าเข้ามาอยู่ในระบบ • กฎเกณฑ์ชัดเจนและปฏิบัติได้ง่ายขึ้น • การฟ้องทางกฎหมายอาจมีมากขึ้นด้วย สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  33. การเตรียมความพร้อมเพื่อเตรียมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนการเตรียมความพร้อมเพื่อเตรียมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน Learning Structural Change Mindset Change ส่งเสริมการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ และพัฒนาทักษะที่จำเป็นของข้าราชการและพนักงาน รวมทั้งสร้างเครือข่ายกับประชาชนในการขับเคลื่อนการเป็นประชาคมอาเซียน ปรับโครงสร้างส่วนสถาบันเพื่อรองรับการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน เปลี่ยนมุมมองเป็น “มากกว่าประเทศไทย” และ “เราจะสร้างประโยชน์อะไรให้กับอาเซียน” รวมทั้งขยายขอบเขตการคิด สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

  34. THANk YOU สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย โทร. 02 203 5000 ต่อ 44202-4 aseanthailand@hotmail.com www.aseanthailand.org www.facebook.com/pages/Asean-Association-Thailand สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (Asean Association-Thailand)

More Related