1 / 14

ภาพที่ 1 วัฏจักรชีวิตของยุง ที่มา : นิรนาม(ม.ป.ป.)

การยับยั้งการวางไข่ของยุงโดยสารสกัดจากพืช Anti-Oviposition of Mosquitoes by Plant Extracts. รูปร่างลักษณะและชีวประวัติของยุง. ยุงเป็นแมลงที่มีขนาดเล็กมีส่วนหัว อก และท้อง มองเห็นได้ชัดเจนและสามารถแยกออกจากแมลงชนิดอื่น ซึ่งมีวงจรชีวิตแบบสมบูรณ์. ภาพที่ 1 วัฏจักรชีวิตของยุง

ross
Download Presentation

ภาพที่ 1 วัฏจักรชีวิตของยุง ที่มา : นิรนาม(ม.ป.ป.)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การยับยั้งการวางไข่ของยุงโดยสารสกัดจากพืช Anti-Oviposition of Mosquitoes by Plant Extracts

  2. รูปร่างลักษณะและชีวประวัติของยุงรูปร่างลักษณะและชีวประวัติของยุง ยุงเป็นแมลงที่มีขนาดเล็กมีส่วนหัว อก และท้อง มองเห็นได้ชัดเจนและสามารถแยกออกจากแมลงชนิดอื่น ซึ่งมีวงจรชีวิตแบบสมบูรณ์ ภาพที่ 1 วัฏจักรชีวิตของยุง ที่มา: นิรนาม(ม.ป.ป.)

  3. ยุงที่เป็นพาหะนำโรคที่สำคัญยุงที่เป็นพาหะนำโรคที่สำคัญ ยุงก้นปล่อง โรคมาลาเรีย ยุงรำคาญ โรคไข้สมองอักเสบและโรคเท้าช้าง ยุงลาย โรคไข้เลือดออก ยุงลายเสือ โรคเท้าช้าง ที่มา: http://mylesson.swu.ac.th/mb322/chapter6.htm http://www.vcharkarn.com/uploads/21/21613.jpg

  4. การแพร่พันธุ์ ยุงทุกชนิดแพร่พันธุ์โดยการวางไข่ ยุงตัวเมียจำเป็นจะต้องกินเลือดก่อนการวางไข่ทุกครั้ง เพื่อนำโปรตีนจากเลือดมาเพื่อทำให้ไข่เจริญเติบโตเต็มที่ ที่มา:http://www.thaitravelclinic.com/thai/imgnews/3.jpg

  5. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการพักตัวของยุงปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการพักตัวของยุง • ความร้อน-ความเย็นของอากาศ • อุณหภูมิของน้ำที่ลูกน้ำยุงอาศัยอยู่ • ความสั้นยาวของกลางวันและกลางคืน • ความเข้มของแสงและ ความชื้น

  6. ใบมะแว้ง ขมิ้นชัน สารสกัดจากพืช ผลมะกรูด

  7. ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพของใบมะแว้งในการยับยั้งการวางไข่ของยุงAn.stephensi เพศเมีย ที่มา : Xue และคณะ (2001)

  8. จากตารางที่ 1 สรุปได้ว่า • ใบมะแว้ง ที่ความเข้มข้นต่ำสุด 0.01% พบจำนวนไข่เฉลี่ย 588.6 ฟอง กลุ่มควบคุมมีจำนวนไข่เฉลี่ย 722.8 ฟอง ให้ผลยับยั้งวางไข่น้อยเพียง 18.4% และจากข้อมูลการทดลอง ที่ระดับความเข้มข้นตั้งแต่ 0.075% ให้ผลการยับยั้งค่อนข้างดีคือ 89.8%

  9. ตารางที่ 2ประสิทธิภาพของน้ำมันหอมระเหยขมิ้นชันในการยับยั้งการวางไข่ ของยุงชนิดต่างๆ ที่มา : อภิวัฏ และคณะ (ม.ป.ป.)

  10. จากตารางที่ 2 สรุปได้ว่า • น้ำมันหอมระเหยจากขมิ้นชัน ที่ความเข้มข้น 200 ไมโครลิตร/น้ำ 200 มิลลิลิตร (0.0025%) มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการวางไข่ของยุงทั้ง 4 ชนิด นอกจากนี้อัตรา การฟักของไข่ในถ้วยทดสอบที่มีน้ำมันหอมระเหยขมิ้นชันจะต่ำกว่าอัตราการฟักของไข่ในถ้วยควบคุม

  11. ตารางที่ 3 การยับยั้งการวางไข่ของผลมะกรูดที่มีต่อยุงลายบ้าน Ae. aegypti ตัวเต็มวัย ที่มา : เจริญ และคณะ (ม.ป.ป.)

  12. จากตารางที่ 3 สรุปได้ว่า • ผลมะกรูดไม่มีผลต่อการยับยั้งการวางไข่ของยุงลายตัวเต็มวัย และยังพบว่าในภาชนะที่มีผลมะกรูดยังมีจำนวนไข่ที่วางมากกว่าภาชนะที่ไม่มีมะกรูด

  13. สรุป • สารสกัดจากขมิ้นชัน ใบมะแว้ง มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการวางไข่ของยุง เปอร์เซ็นต์การยับยั้งการวางไข่ของสารสกัดขมิ้นชันที่ 0.0025% และใบมะแว้งที่ 0.1% เท่ากับ 91.8% และ 99.4% ตามลำดับ • ผลมะกรูดไม่มีผลต่อการยับยั้งการวางไข่ของยุงลายตัวเต็มวัย ซึ่งพบว่าเมื่อนำเอาไข่มาฟัก ก็ปรากฏว่าไข่สามารถฟักออกมาเป็นลูกน้ำระยะที่ 1 เกือบ 100 % ได้ภายใน 3 ชั่วโมง

  14. โดย นายณรงค์ งามภาษีเจริญกุล รหัสนักศึกษา 4740061 อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.อรัญ งามผ่องใส ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112 โทร. 074-286101-2

More Related