420 likes | 569 Views
กลยุทธ์การบริหารภายใต้ข้อจำกัดของธุรกิจ Strategic Constraint Management. ศาสตราจารย์ ดร.เรวัตร์ ชาตรีวิศิษฏ์ Prof.Raywat Chatreewisit,Ph.D. ขอบเขตการบรรยาย.
E N D
กลยุทธ์การบริหารภายใต้ข้อจำกัดของธุรกิจStrategic Constraint Management ศาสตราจารย์ ดร.เรวัตร์ ชาตรีวิศิษฏ์ Prof.Raywat Chatreewisit,Ph.D
ขอบเขตการบรรยาย • ศึกษาถึงการบริหารภายใต้ข้อจำกัดของธุรกิจ ทั้งปัจจัยภายในประเทศและต่างประเทศ ทฤษฎีข้อจำกัดที่เกี่ยวข้องกับการผลิต ความผันแปรและการเพิ่มผลผลิตภายใต้ข้อจำกัดต่างๆไม่ว่าจะเป็นข้อจำกัดด้านเศรษฐศาสตร์การตลาด การผลิต กฎหมาย แรงงานหรือข้อจำกัดอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการประกอบการทางด้านธุรกิจ
ข้อจำกัดทางธุรกิจภายนอกข้อจำกัดทางธุรกิจภายนอก • Politics การเมือง • Economics เศรษฐกิจ • Social สังคม • Technology เทคโนโลยี หรือ สหวิทยาการ • Legal กฎหมาย
ข้อจำกัดทางธุรกิจภายในข้อจำกัดทางธุรกิจภายใน • Profitability ความสามารถแสวงหากำไร • Growth การเจริญเติบโตทางธุรกิจ • Liquidity สภาพคล่องทางธุรกิจ • Leverage or Coverage Ratio สัดส่วน หรือ อัตรามาตรฐานการดำเนินธุรกิจ
ปัจจัยภายในประเทศ 1. ด้านความเชื่อมั่นในการค้าขาย 2. ด้านการตอบสนองในการค้าขาย 3. ด้านความสามารถในการให้บริการ 4. ด้านการเข้าถึงการบริการ และสินค้า 5. ด้านการสร้างสิ่งที่จับต้องได้ในการให้บริการและส่งมอบสินค้า
ปัจจัยภายนอกประเทศ • กฎ กติกา มารยาท วัฒนธรรมทางการค้าระหว่างประเทศ • ปฏิญญาอาเซียน • ทฤษฎีและข้อจำกัดที่เกี่ยวข้องกับการผลิต ต้นทุนการผลิต ต้นทุนสินค้าขาย ค่าแรงงานทางตรงและทางอ้อม การใช้พลังงานภายใต้ข้อจำกัดทางการค้าและการลดภาวะโลกร้อนจากมลพิษ • ความผันแปรและการเพิ่มผลผลิตภายใต้ข้อจำกัดต่างๆในสภาวการณ์ปัจจุบัน
ข้อจำกัดทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการจริงข้อจำกัดทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการจริง • ข้อจำกัดทางด้านเศรษฐศาสตร์ สังคมนิยม ทุนนิยม และสังคมการค้าโลกที่สาม กลุ่มการค้า หรือพันธมิตรทางการค้า ฯลฯ • ข้อจำกัดทางด้านการตลาด • ข้อจำกัดทางด้านการผลิต • ข้อจำกัดทางด้านกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ/ในประเทศ • ข้อจำกัดทางด้านแรงงาน • ข้อจำกัดอื่นๆท เกี่ยวข้อง
การจัดทำแผนที่กลยุทธ์เพื่อการบริหารภายใต้ข้อจำกัดทางธุรกิจการจัดทำแผนที่กลยุทธ์เพื่อการบริหารภายใต้ข้อจำกัดทางธุรกิจ • เพื่อใช้อธิบายถึงความเชื่อมโยงของวัตถุประสงค์ทั้งหมดในองค์กรในรูปแบบที่นำเสนออย่างง่าย และง่ายต่อการปฏิบัติการ
Outcome ระดับกระทรวง Finance การสร้างรายได้ให้กับประเทศทั้งในและนอกประเทศในลักษณะสมดุลและยั่งยืน Outcome ระดับกลุ่มภารกิจ การเชื่อมโยงการค้าในประเทศและระหว่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ การขยายตัวการค้าในประเทศ การขยายตัวการค้าระหว่างประเทศ Output ระดับกรม Customer เพิ่มมูลค่าของสินค้า โดยทรัพย์สินทางปัญญา ความสามารถในการ แข่งขันและธรรมภิบาลของผู้ประกอบการ รายได้ที่เพิ่มขึ้นของประชาชน (ภาคการค้า) การสร้างโอกาส ในการแข่งขันของสินค้า และบริการของไทย รักษาความเป็นธรรม และสิทธิประโยชน์ การค้า การเพิ่มช่องทางการค้า ในต่างประเทศ ความเป็นธรรม ทางการค้า Process ระดับกรม Internal Process เชื่อมโยงช่องทางการค้าในประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ การส่งเสริมการรักษาสิทธิประโยชน์เพื่อให้ได้รับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ส่งเสริมกิจกรรมทางการตลาด การส่งเสริมการค้าขาย ตามมาตรฐานสากล ควบคุมมาตรการค้าต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ การเจรจาเพื่อ ขยายตลาดการค้า การลงทุน การพัฒนา ผู้ประกอบการ การรักษาเสถียรภาพทางการราคา กำหนดนโยบายการค้าที่มีประสิทธิภาพ Learning & Growth Input ระดับกรม การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การป้องกันการทุจริต การใช้ IT การทำงานแบบ มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ สมรรถนะ
กรณีศึกษา:ทำอย่างไรจึงจะเป็น “นักแก้ปัญหา” ที่ดี (มืออาชีพ) • มีความเข้าใจและปฏิบัติตามกระบวนการแก้ปัญหาอย่างถูกต้อง สามารถ • แยกแยะข้อมูล/ข้อคิดเห็น : หลักการ/วิธีการ เหตุและผลได้ดี • มีทักษะในการ • 1. สร้างความพอใจ ก่อนแก้ปัญหา/ลดความขุ่นมัวในอารมณ์ของผู้ที่ได้รับ • ผลกระทบจากปัญหา • 2. ใช้ความฉลาดทางอารมณ์ และการคิดเชิงบวกในการแก้ปัญหา ตั้งสติ อย่าเพิ่งโวยวาย หรือ “เต้น” ไปกับปัญหา เป็น “นักฟัง” ที่ดี และ “นักคิด” ที่เป็นระบบ • ให้ผู้เกี่ยวข้องเข้ามีส่วนร่วมในกระบวนการแก้ปัญหาให้มากที่สุดเท่าที่ • จะเป็นไปได้
กระบวนการอย่างมีระบบในการแก้ปัญหากระบวนการอย่างมีระบบในการแก้ปัญหา 1. การระบุปัญหา.......................... * เน้นการวิเคราะห์ข้อมูล 2. การหาสาเหตุของปัญหา............ * เน้นการมองหาความเปลี่ยนแปลง ต่างๆที่เกิดขึ้น * พิจารณาองค์ประกอบต่างๆ อย่าง เป็นระบบ 3. การหาทางแก้ไขปัญหา............. * เน้นการใช้ความคิดสร้างสรรค์ * การคิดทางบวก และการวิเคราะห์ ข้อดี/ข้อเสีย 4. การกำหนดวิธีปฏิบัติ................ * เน้นการมอบหมายงานให้มีเจ้าภาพ * การสื่อสารและลดผลกระทบจาก การตัดสินใจ
การเลือกใช้ข้อมูลในการวิเคราะห์ปัญหาการเลือกใช้ข้อมูลในการวิเคราะห์ปัญหา คุณภาพของข้อมูล - ความครอบคลุมทั่วถึง (ระบบงาน สภาพแวดล้อมบุคคล) - ความเป็นตัวแทนที่ดีที่ทำให้มีน้ำหนัก น่าเชื่อถือ - ความเชื่อถือได้ (ข้อเท็จจริง ความเห็น การนึกเอาเอง) - ความมีนัยที่ชัดเจน (วัดได้ด้วยเครื่องมือที่คนยอมรับ) ปริมาณเพียงพอที่จะนำมาวิเคราะห์ และสรุปผล แหล่งที่มาของข้อมูล มาจากแหล่งต้นตอ หรือการถ่ายทอด
การสรุปสาเหตุของปัญหา ต้อง... 1. ไม่เอาผลมาเป็นเหตุ บางเรื่องเป็นผลต่อเนื่องมาจากเหตุอื่น ไม่เอาความบังเอิญมาเป็นเหตุ ความบังเอิญกับเหตุบังเอิญไม่เหมือนกัน 3. ไม่สรุปง่ายๆว่า สิ่งที่มีความสัมพันธ์กันนั้น ไม่ จำเป็นต้องเป็นเหตุเป็นผลของกันและกัน 4. ไม่นำหลักทั่วไปมาใช้หาข้อยุติเฉพาะกรณีที่มีบุคคล เวลา สิ่งแวดล้อมแตกต่างกัน 5. ไม่ใช่ทฤษฎี “มั้ง” เป็นข้ออ้างอิง
ทางแก้ปัญหาที่ควรนำมาปฏิบัติทางแก้ปัญหาที่ควรนำมาปฏิบัติ ต้อง....... เป็นไปได้ทางปฎิบัติ /เทคนิค/หลักวิชาการ (Technically feasible) คุ้มค่าในแง่ค่าใช้จ่าย / ประสิทธิภาพ / ธุรกิจ (Economically sound) ยอมรับได้ในหมู่คนที่เกี่ยวข้อง / ลูกค้า (Socially acceptable) และคำนึงถึง ผลเสียที่อาจจะเกิดตามมา หากเลือกปฏิบัติตาม ทางเลือกนั้น ตลอดจนโอกาสที่จะป้องกัน หรือ คุ้มกันผลเสียหาย
กรณีศึกษาภายในองค์การคุณจะทำอย่างไรกับปัญหา(กรณีความขัดแย้งภายใน)ดังนี้…กรณีศึกษาภายในองค์การคุณจะทำอย่างไรกับปัญหา(กรณีความขัดแย้งภายใน)ดังนี้… • ถูกย้ายให้ปรับตำแหน่งใหม่ ที่ไม่มีความรู้ ไม่มีประสบการณ์ เคย • ทำงานนี้มาก่อน 3. หงุดหงิดใจ ที่ไม่มีใครอธิบายได้ชัดเจนเกี่ยวกับงานที่รับผิดชอบ 1. ไม่ได้รับความสะดวก ความร่วมมือ เวลาไปติดต่องานกับผู้อื่นใน เรื่องที่เป็นหน้าที่ของเขาเอง 4. ขอให้ลูกน้องหญิงคนหนึ่งอยู่ทำงานล่วงเวลา แต่เธอบอกว่าติดนัด กับชายหนุ่มคนหนึ่ง 5. รู้สึกว่าไม่ได้รับความยุติธรรม หัวหน้ามักตำหนิ(ต่อหน้าคน) ว่า ทำงาน ไม่รอบคอบ ทั้งๆที่ได้ทำอย่างดีแล้ว
โครงสร้างของอาเซียน ภายใต้กฏบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มกราคม 2552 ผู้นำอาเซียน (ASEAN Summit) เสาเศรษฐกิจ เสาสังคม-วัฒนธรรม เสาการเมือง ASEAN Coordinating Council (ACC) รมต.ต่างประเทศอาเซียน ASEAN Political-Security Community : ASC Council คณะมนตรีประชาคมความมั่นคงอาเซียน ASEAN Economic Community : AEC Council คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC Council คณะมนตรีประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน CPR (Committee of Permanent Representatives in Jakarta) เอกอัครราชทูตจากประเทศสมาชิกอาเซียน ประจำที่จาร์กาตา • การรประชุมรัฐมนตรีรายสาขา 11 สาขา เช่น • รมต.เศรษฐกิจ AEM • รมต. คลังอาเซียน • รมต. เกษตร • รมต. พลังงาน • รมต. ขนส่ง • รมต. ท่องเที่ยว • รมต. ICT ฯลฯ • การประชุมระดับรัฐมนตรี รายสาขา 6 สาขาเช่น • รมต. ต่างประเทศ • รมต. กลาโหม • รมต. ยุติธรรม • ฯลฯ • การประชุมระดับรัฐมนตรีรายสาขา 15 สาขาเช่น • รมต. วัฒนธรรม • รมต. ศึกษา • รมต. แรงงาน • รมต. มหาดไทย (การประชุมด้านการพัฒนาชนบท-ขจัดความยากจน และด้านภัยพิบัติอาเซียน) ฯลฯ ASEAN Secretariat สำนักเลขาธิการอาเซียน Senior Officials Meeting ของแต่ละสาขา • Senior Officials Meeting • ของแต่ละสาขา • Senior Officials Meeting • ของแต่ละสาขา • Senior Officials
มองอาเซียน มองไทย --อาเซียนสำคัญต่อไทยอย่างไร มุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โครงสร้างใหม่ของอาเซียนภายใต้กฏบัตรอาเซียน อะไรจะเปลี่ยนไปใน AEC อาเซียนกับประเทศคู่ค้า ASEAN Connectivity --การเชื่อมโยงในอาเซียน -- การใช้ประโยชน์จาก AEC จะเริ่มอย่างไรเพื่อใช้ประโยชน์ AEC AEC ได้หรือเสีย ? เตรียมรุกเตรียมรับ AEC สำหรับภาคเอกชน บทบาทภาครัฐในการเตรียมความพร้อมของเอกชนสู่ AEC AECกับการปรับตัวของ SME
ความสำคัญของอาเซียนต่อไทยความสำคัญของอาเซียนต่อไทย การส่งออกของไทยไปอาเซียน และ การนำเข้าของไทยจากอาเซียน 44,334 US$ 30,327 US$
เตรียมรุกเตรียมรับ AEC -- สำหรับภาคเอกชน -- AEC
เตรียมรุก AEC สำหรับผู้ประกอบการไทย ขายให้ตลาดใหญ่ขึ้นและใช้ประโยชน์จากการผลิตยิ่งมาก ยิ่งต้นทุนต่ำลง ศึกษารสนิยมความต้องการใน AEC เสนอแนะ นำเข้าวัตถุดิบ สินค้ากึ่งสำเร็จรูปจากแหล่งผลิตใน AEC ที่มีความได้เปรียบด้าน ราคา/คุณภาพ ศึกษาเสาะหาแหล่งวัตถุดิบใน AEC สามารถย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศที่เหมาะเป็นแหล่งผลิต ดูความเป็นไปได้การย้ายฐานผลิต ศึกษาโอกาสธุรกิจบริการใหม่ๆ ทำธุรกิจบริการได้อย่างเสรีในอาเซียน ใช้ CLMV เป็นฐานการส่งออกไปนอก AEC เพื่อใช้ประโยชน์จากสถานะ Least Developed Countries : LDCs หันมามอง CLMV โดยวิสัยทัศน์ใหม่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558
เตรียมรับ AEC สำหรับผู้ประกอบการไทย เรียนรู้คู่แข่ง เกิดคู่แข่งใหม่จากอาเซียน เสนอแนะ นอกเหนือจากคู่แข่ง 9 ประเทศอาเซียนแล้วยังมีเพิ่มอีก 3 หรือ 6 (อาเซียนบวก3 /บวก 6) ต้นทุนของคู่แข่งอาจต่ำลง ไม่ละเลยการลดต้นทุน คู่แข่งจะเข้ามาแข่งถึงในเขตแดนเรา เร่งเสริมจุดแข็ง ลดจุดอ่อน บริษัทที่อยู่ในอุตสาหกรรมรองรับ หรือ เคยผลิตส่งบริษัทแม่ อาจถูกแย่งลูกค้า โดยคู่แข่งในประเทศอื่นที่ได้เปรียบกว่าในการเป็นฐานการผลิต ผูกมัดใจลูกค้าในทุกรูปแบบ & สร้างความแตกต่างด้วยความคิด สร้างสรรค์ คุณภาพ/มาตรฐาน “ทำอย่างไรให้เขาอยู่(กับเรา)” อาจถูกแย่งแรงงานฝีมือ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558
และสำหรับภาคแรงงาน…….. สร้างเสริมทักษะ ความชำนาญ ในสาขาวิชาชีพตน เพื่อเป็นกำลังสำคัญสนับสนุนภาคการผลิต เสนอแนะ สร้างความได้เปรียบ ด้วยการพัฒนาคุณค่าของลักษณะความเป็นไทย ฝึกฝนภาษา สำหรับภาคการศีกษา นักศึกษา นักเรียน…….. รู้จักอาเซียนเพียงพอหรือยัง? วัฒนธรรม แนวความคิด ค่านิยม ประวัติศาสตร์ สังคม ความเป็นอยู่ ภาษาท้องถิ่น ปลูกฝังความรู้สึกการเป็น “ชาวอาเซียน”
ความเข้าใจผิดบางประการ……ความเข้าใจผิดบางประการ…… ทำธุรกิจกับอาเซียน อย่าคิดว่า..... ข้อคิด ควรเรียนรู้วัฒนธรรม ความคิดความอ่าน ลักษณะนิสัยใจคอของคนในอาเซียนอื่น “ ก็คนอาเซียนด้วยกัน เขาก็คิดเหมือนเราแน่” “ถ้าภาษาอังกฤษใช้ได้ ก็สื่อสารกันได้แล้ว” ใช่ แต่ถ้าจะให้เข้าถึงเชิงลึก ควรรู้ภาษาท้องถิ่นด้วย เคารพกัน ให้เกียรติกัน จะนำไปสู่ความเชื่อใจ “ ในแถบนี้ไทยเราเก่งที่สุด ดีเลิศที่สุดอยู่แล้ว” บางประเทศในอาเซียน อาจจำเป็นต้องมีพันธมิตร / ลงทุนร่วม “ มีทุน มีประสบการณ์ มีความสามารถ ก็เข้าไปทำธุรกิจด้วยตนเองได้”
การค้าไทยกับอาเซียน ตลาดส่งออกหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2553 ปี 2535 ปี 2553 ASEAN 22.7% ส่งออกรวม 195,311.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ส่งออกรวม 32,609.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ • Note • AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) • ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 ม.ค.2553 (2010)
การค้าไทยกับอาเซียน แหล่งนำเข้าหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2553 ปี 2535 ปี 2553 ASEAN 16.6% นำเข้ารวม 182,406.54 ล้านเหรียญสหรัฐฯ นำเข้ารวม 40,615.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ • Note • AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) • ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 ม.ค.2553 (2010)
บทบาทภาครัฐ ในการเตรียมความพร้อมของเอกชน เพื่อเข้าสู่ AEC AEC
สิ่งที่ภาครัฐต้องทำ ท่าทีเอกชน/SMEs ต่อ AEC คิดว่า AEC ยังเป็นเรื่องไกลตัว สร้างความตระหนักรู้ (awareness) แต่ อย่าให้ตื่นตระหนก กระตุ้นให้เห็นว่า ปี 2558 กำลังกระชั้นเข้ามา สนใจแต่ ไม่รู้จะเริ่มที่ไหน ให้ความรู้ เน้นเชิงปฏิบัติ มีความมุ่งมั่น แต่ขาดข้อมูล รวบรวบ/ ให้บริการข้อมูล แต่ในขณะเดียวกัน ควรให้เอกชนเองเกิดความไฝ่รู้ ขวนขวายหาข้อมูลด้วยตนเอง รู้สึกกล้าๆ กลัวๆ ช่วยให้เอกชนเปลี่ยนวิสัยทัศน์จากมองเชิงรับเป็นเชิงรุก แสดงให้เห็น success story&failure ของคนอื่น ต้องการพี่เลี้ยง “ให้มองภาครัฐเป็นที่พึ่ง แต่อย่าให้มองเป็นที่พิง” ชี้ให้เห็นสิ่งที่สร้างความสามารถแข่งขัน เช่น การลดต้นทุน การสร้างแบรนด์ การให้ความสำคัญกับคุณภาพ มาตรฐาน นวัตกรรม ฯลฯ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558
ภาครัฐช่วยภาคเอกชนได้อย่างไร เพื่อเตรียมรับ AEC ? แข็งแรง อ้วน หรือ ต้องช่วยให้เอกชนมีความเข้มแข็ง เพื่อให้สามารถแข่งขันได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558
มาตรการรองรับผลกระทบ กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ ติดต่อ : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรฯ www.oae.go.th ศูนย์บริการลูกค้า 02 5614726 -4727 กองทุนให้ความช่วยเหลือเพื่อการปรับตัวของภาคการผลิตและภาคบริการที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า (กองทุน FTA) มาตรการปกป้องจากการนำเข้าสินค้าที่เพิ่มขึ้นมาก (Safeguard Measure) มาตรการบริหารการนำเข้าสินค้าเกษตร ติดต่อ : กรมการค้าต่างประเทศ www.dft.go.th สายด่วน 1385
กองทุนปรับโครงสร้างการเกษตรฯ ภายใต้กระทรวงเกษตรฯ • ตั้งขึ้นตามมติ ครม. 20 กค. 2547 • ลักษณะการสนับสนุน • สนับสนุนสินเชื่อ ปัจจัยการผลิตและเทคโนโลยี • สนับสนุนงานวิจัียและพัฒนา • ให้ความรู้ จัดฝึกอบรมและดูงาน • ให้การสนับสนุนด้านโครงสร้างพื้นฐานการเกษตร • ปรับเปลี่ยนอาชีพ • งบประมาณ • ปี 2549-2554 จัดสรรไปแล้ว 14 โครงการ รวมเงิน 544.31 ล้านบาท • ปี 2554 มีโครงการได้รับอนุมัติ 3 โครงการ 163.60 ล้านบาท • สินค้าที่ได้รับความช่วยเหลือแล้ว : • โคเนื้อ โคนม(อย่างละ 3 โครงการ) ชา(1) ปาล์มน้ำมัน(2) กาแฟ(1) สุกร(2) ข้าว(2) • ตัวอย่างโครงการ • โครงการปรับโครงสร้างสินค้าเนื้อโคขุนและระบบตรวจสอบย้อนกลับ (11 ล้านบาท) • โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปาล์มน้ำมัน (19 ล้านบาท) • โครงการปรับโครงสร้างสินค้าชา (7 ล้านบาท)
กองทุน FTA (กระทรวงพาณิชย์) ผู้มีสิทธิขอรับความช่วยเหลือ ขั้นตอนการขอรับความช่วยเหลือ • กลุ่มผู้ผลิตสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร อุตสาหกรรม ธุรกิจบริการ • ทั้งที่ได้รับ หรือ คาดว่าจะได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้า • ทั้งสินค้าต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ • จัดทำเป็นโครงการ • เสนอต่อฝ่ายเลขานุการกองทุน (กรมการค้าต่างประเทศ) • โดยเสนอผ่านสถาบันที่เกี่ยวข้องกับการค้า (เช่น สภาอุตสาหกรรมฯ สภาหอการค้าฯ หน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง)
กองทุน FTA (กระทรวงพาณิชย์) รูปแบบความช่วยเหลือ • การศึกษาวิจัยพัฒนา • การจัดหาที่ปรึกษาเพื่อช่วยเหลือปรับปรุงธุรกิจ • การฝึกอบรมอาชีพใหม่ให้คนงาน • กิจกรรมที่มีผลโดยรวมต่อการสนับสนุนการบริโภค การตลาด ฯลฯ ในภาคการผลิตหรือภาคบริการนั้นๆ • การจัดอบรมเสริมสร้างให้มีความรู้เพื่อการปรับตัว • ทั้งสินค้าต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ
กองทุน FTA (กระทรวงพาณิชย์) งบประมาณ และการใช้ • ตั้งแต่ปี 2550-2554 ได้รับงบฯรวม 410 ล้านบาท • ผ่านการอนุมัติแล้ว 31 โครงการ วงเงิน 268.49 ล้านบาท • สินค้าที่ได้รับความช่วยเหลือแล้ว : • ส้ม โคเนื้อ โคนม ปลาน้ำจึด ปลาป่น ส้ม ลิ้นจี่ ข้าว ข้าวกล้องงอก สัปปะรด ชา • เครื่องหนัง เครื่องใช้ไฟฟ้า สินค้ายา สินค้าสมุนไพร • การบริการอาหาร ขนส่ง ท่องเที่ยว โลจิสติกส์ • ปี 2554 ได้รับอนุมัติ 5 โครงการ • ส้มสายน้ำผึ้ง นมโคสด ลิ้นจี่ หอมแดง ปลาสลิดไทย
มาตรการปกป้องการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น Safeguard Measures • พ.ร.บ. มาตรการปกป้องการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น • กรณีมีการนำเข้าที่เพิ่มขึ้นอย่างสูงในระยะเวลารวดเร็ว กระทบต่ออุตสาหกรรมภายใน • สามารถระงับการนำเข้าชั่วคราว โดยขึ้นภาษีหรือกำหนดปริมาณนำเข้าได้
สินค้าที่ใช้มาตรการบริหารการนำเข้า (ภายใต้ AFTA) กลุ่ม A กลุ่ม B กลุ่ม C • ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ • ข้าว • กาแฟ (เมล็ดกาแฟ และ กาแฟสำเร็จรูป) • หอมหัวใหญ่ • ชา • กระเทียม • น้ำนมดิบ/นมปรุงแต่ง • เมล็ดพันธุ์หอมหัวใหญ่ • นมผงขาดมันเนย • มันฝรั่ง • ลำไยแห้ง • พริกไทย • เมล็ดถั่วเหลือง • มะพร้าว • เนื้อมะพร้าวแห้ง • น้ำมันมะพร้าว
กลุ่ม A มาตรการรองรับการนำเข้า คุณสมบัติ ผู้นำเข้า • ต้องขึ้นทะเบียนเป็นผู้นำเข้า ปีต่อปี (ต่อกรมการค้าต่างประเทศ) • ต้องรายงานการนำเข้า ภายใน1 เดือนหลังจากนำเข้า • เฉพาะนำเข้าเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมแปรรูป หนังสือ รับรองที่ ต้องยื่น ประกอบ การนำเข้า : • รับรองถิ่นกำเนิดสินค้า (ฟอร์ม D) • รับรองการได้รับสิทธิในการยกเว้นภาษี • รับรองว่าสินค้าปลอดภัยต่อชีวิต/สุขภาพมนุษย์ สัตว์ หรือพืช • รับรองว่าไม่ใช่พืช GMO เงื่อนไขอื่น • นำเข้าได้เฉพาะทางด่าน 6 แห่ง (อรัญประเทศ หนองคาย แม่สาย แม่สอด ระนอง กรุงเทพฯ(คลองเตย) • นำเข้าได้เฉพาะในช่วง พค.- กค.และ สค.- ตค.
กลุ่ม B มาตรการรองรับการนำเข้า คุณสมบัติ ผู้นำเข้า • ต้องขึ้นทะเบียนเป็นผู้นำเข้า ปีต่อปี (ต่อกรมการค้าต่างประเทศ) • ต้องรายงานการนำเข้า ภายใน1 เดือนหลังจากนำเข้า • กรณีเมล็ดถั่วเหลือง มะพร้าว เนื้อมะพร้าวแห้ง น้ำมันมะพร้าว ต้องเป็นผู้นำเข้าเพื่อแปรรูปเป็นน้ำมันพืชหรืออาหารคน • กรณีเมล็ดถั่วเหลือง ต้องรับซื้อเมล็ดถั่วเหลืองในประเทศ หนังสือ รับรองที่ ต้องยื่น ประกอบ การนำเข้า : • รับรองถิ่นกำเนิดสินค้า (ฟอร์ม D) • รับรองการได้รับสิทธิในการยกเว้นภาษี • รับรองว่าสินค้าปลอดภัยต่อชีวิต/สุขภาพมนุษย์ สัตว์ หรือพืช • รับรองว่าไม่ใช่พืช GMO (สำหรับมันฝรั่งและเมล็ดพันธุ์หอมหัวใหญ่) • กรณีเมล็ดถั่วเหลือง มะพร้าว เนื้อมะพร้าวแห้ง น้ำมันมะพร้าว ต้องรับรองว่าไม่จำหน่ายจ่ายโอน เงื่อนไขอื่น • นำเข้าได้เฉพาะทางด่านศุลกากรที่มีด่านตรวจพืช/ด่านอาหาร-ยา • นำเข้าได้เฉพาะในช่วงนอกฤดูกาลผลิต (มันฝรั่ง กค.- ธค./ กระเทียม กค.- ตค. / มะพร้าว เนื้อมะพร้าวแห้ง น้ำมันมะพร้าว มค.-พค,และ พย.-ธค. / กระเทียม กค.- ตค.. )
กลุ่ม C มาตรการรองรับการนำเข้า คุณสมบัติ ผู้นำเข้า • ต้องขึ้นทะเบียนเป็นผู้นำเข้า ปีต่อปี (ต่อกรมการค้าต่างประเทศ) • กรณีเมล็ดกาแฟ เฉพาะอคส.และบริษัทที่ได้รับความเห็นชอบของคณะอนุกรรมการพืชส่วน กระทรวงเกษตรฯ หนังสือ รับรองที่ ต้องยื่น เวลานำเข้า: • รับรองถิ่นกำเนิดสินค้า (ฟอร์ม D) • รับรองการได้รับสิทธิในการยกเว้นภาษี • กรณีเมล็ดกาแฟหนังสือรับรองจะออกให้ตามความเห็นชอบของคณะอนุกรรมการพืชสวนฯ • กรณีน้ำนมดิบ นมพร้อมดื่ม หนังสือรับรองจะออกให้เฉพาะนำเข้าเพื่อใช้ในกิจการของตนเอง • รับรองว่าสินค้าปลอดภัยต่อชีวิต/สุขภาพมนุษย์ สัตว์ หรือพืช • รับรองว่าไม่ใช่พืช GMO (สำหรับกาแฟ) • นำเข้าได้เฉพาะทางด่านศุลกากรที่มีด่านตรวจพืช/ด่านอาหาร-ยา เงื่อนไขอื่น
สรุป ภาษีนำเข้าจะเป็นศูนย์ ในอาเซียนุ-6 ณ 1 มค 2553 ใน CLMV ณ 1 มค 2558 อาเซียนจะเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC)ในปี 2558(2015) การค้าในอาเซียนจะเสรี ไทยจะเป็นส่วนหนึ่งของตลาดและฐานการผลิตร่วมในAEC จะไปทำธุรกิจภาคบริการ หรือไปลงทุนในอาเซียนอื่นๆได้อย่างเสรี ขณะเดียวกัน ไทยจะต้องเปิดเสรีให้อาเซียนอื่นเข้ามาถือหุ้นได้ถึง 70% ในปี 2558 • ผลของ AEC ที่จะเกิดขึ้นมีทั้งได้และเสีย • ต้องกระตุ้นให้มีการปรับตัว มองหาลู่ทางใช้ประโยชน์ สำหรับผู้ที่จะได้ประโยชน์ คิดหาการเตรียมตัวรับมือ สำหรับผู้ที่อาจเสีย/ได้รับผลกระทบ • ควรใช้ยุทธศาสตร์เชิงรุก มากกว่าคิดแต่จะตั้งรับ • การแข่งขันใน AEC จะได้เปรียบกว่าเมื่อ • ผู้ผลิตผู้ส่งออกไทยผลิตสินค้ามีคุณภาพ ลดต้นทุน มีแรงงาน/บุคคลากรมีคุณภาพ • มองการใช้ประโยชน์ของตลาดที่ใหญ่ขึ้น และการใช้ฐานการผลิตร่วมใน AEC • เปิดกว้าง และพยายามเสาะหาโอกาสใหม่ๆ ใน AEC
T M H L Y A M A L A Y S I A I O N L P M S C A M B O D I A I N R R R N D U G I N D O N E S I E P V I E T N A M O R P H I L I P P I N E S ปี 2558 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) A S E A N แหล่งข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับอาเซียน • www.thaifta.com(กรมเจรจาฯ) และเข้าไปที่“ASEAN Conner” • www.asean.org • (เวปไซต์ของสำนักเลขาธิการอาเซียน) A • Call Center 02-507-7555 • สำนักอาเซียน 02-507-7236
กรณีศึกษา และตัวอย่างประกอบ • กรณีศึกษา และตัวอย่างประกอบ • ถาม-ตอบ • สรุป • บูรณาการ
ศาสตราจารย์ ดร.เรวัตร์ ชาตรีวิศิษฏ์ การศึกษา ระดับปริญญาตรี วทบ.(เศรษฐศาสตร์เกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ระดับปริญญาโท ศศม.(เทคโนโลยีสังคม) มหาวิทยาลัยเกริก ระดับปริญญาตรี B.A.(Training & Leadership) Almeda University. U.S.A. ระดับปริญญาโท M.A. NORTHERN ILLINOIS Univ. U.S.A ระดับปริญญาโท MPM สถาบัน American Academy of Project Management. U.S.A ระดับปริญญาเอก Ph.D in Business Administration จาก LOUISSIANA STATE Univ. ระดับปริญญาเอก Ph.D in Religious Study จาก Almeda University.U.S.A. ประกาศนียบัตร CIC,CIPM ที่ปรึกษาด้านการวิเคราะห์ตลาด และบริหารโครงการ สถาบัน American Academy of Project Management. U.S.A ตำแหน่งปัจจุบัน ประธานสถาบันพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (HRDI) รองประธานที่ปรึกษาสถาบันพัฒนวิชาการทรัพยากรมนุษย์, ที่ปรึกษาด้านประชากรศาสตร์ หมายเลข ๕๓๐กระทรวงการคลัง ที่ปรึกษาด้านการตลาดและบริหารโครงการของสถาบัน CIC,AAPM,E-Marketing Consultant Project Management Program Academy .U.S.A กรรมการบริหารสถาบันพัฒนาการบริหารธรรมนิติ, ผู้ประสานงาน และริเริ่มโครงการช่วยเหลือคนตกงาน ประธานกรรมการสอบเลื่อนตำแหน่งระดับ รศ.และ ผศ. สถาบันอุดมศึกษาที่สังกัดทั้งภาครัฐ และเอกชน