1 / 53

การส่งเสริมการอ่านให้เป็นวาระแห่งชาติเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้แห่งตลอดชีวิต

การส่งเสริมการอ่านให้เป็นวาระแห่งชาติเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้แห่งตลอดชีวิต. “การอ่านเป็นทักษะหรือเครื่องมือที่สำคัญ ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์”. “นิสัยรักการอ่านไม่ขึ้นอยู่กับอาชีพ แต่ขึ้นกับความสนใจ”. รัฐบาลให้ความสำคัญในการรณรงค์ให้เด็กไทยรักการอ่าน โดยถือเป็นวาระแห่งชาติ.

roth-mullen
Download Presentation

การส่งเสริมการอ่านให้เป็นวาระแห่งชาติเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้แห่งตลอดชีวิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การส่งเสริมการอ่านให้เป็นวาระแห่งชาติเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้แห่งตลอดชีวิตการส่งเสริมการอ่านให้เป็นวาระแห่งชาติเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้แห่งตลอดชีวิต

  2. “การอ่านเป็นทักษะหรือเครื่องมือที่สำคัญ“การอ่านเป็นทักษะหรือเครื่องมือที่สำคัญ ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์” “นิสัยรักการอ่านไม่ขึ้นอยู่กับอาชีพ แต่ขึ้นกับความสนใจ”

  3. รัฐบาลให้ความสำคัญในการรณรงค์ให้เด็กไทยรักการอ่าน โดยถือเป็นวาระแห่งชาติ รายงานจากสำนักสถิติแห่งชาติพบว่า การอ่านหนังสือของเด็กไทยอ่านหนังสือวันละไม่เกิน 8 บรรทัด หรือจากเดิม 52 นาทีต่อวัน เหลือเพียง 39 นาที เนื่องจากเด็กและเยาวชน ส่วนใหญ่ใช้เวลาไปกับการเล่นคอมพิวเตอร์และดูโทรทัศน์มากขึ้น

  4. มติคณะรัฐมนตรี เมื่อ 5 สิงหาคม 2552 1. การอ่านเป็นวาระแห่งชาติ 2. วันที่ 2 เมษายน ของทุกปีเป็นวันรักการอ่าน 3. ปี 2552-2561 เป็นทศวรรษแห่งการอ่าน 4. ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการอ่านเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรม

  5. วิสัยทัศน์ในการส่งเสริมการอ่านวิสัยทัศน์ในการส่งเสริมการอ่าน คนไทยทุกคนได้รับการพัฒนาความสามารถและปลูกฝังนิสัยรักการอ่านเพิ่มขึ้น ด้วยบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านเพื่อสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต

  6. พันธกิจ 1. ปลูกฝังคุณค่าการอ่านทุกรูปแบบ 2. พัฒนาความสามารถในการอ่าน 3. พัฒนาสื่อ กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน 4. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

  7. เป้าหมาย • ประชากรวัยแรงงานมีการอ่านเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 97.21 เป็นร้อยละ 99.00 • เด็กไทย อายุ 15 ปีขึ้นไปมีการอ่านเพิ่มขึ้นจากร้อนละ 92.64 เป็นร้อยละ 95.00 • ค่าเฉลี่ยการอ่านหนังสือของคนไทยเพิ่มขึ้นจากปีละ 5 เล่ม เป็น 10 เล่ม • แหล่งการอ่านครอบคลุมทุกพื้นที่อย่างทั่วถึง • สร้างภาคีเครือข่ายการอ่าน/การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน

  8. 3 ยุทธศาสตร์หลักในการส่งเสริมการอ่าน 1. พัฒนาคนไทยให้มีความสามารถในการอ่าน 2. พัฒนาคนไทยให้มีนิสัยรักการ่าน 3. สร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการอ่านให้ยั่งยืน

  9. 5 แผนงาน 20 โครงการ แผนงานที่ 1 รณรงค์สร้างนิสัยรักการอ่าน •  ประชาสัมพันธ์จูงใจรักการอ่าน •  อัศจรรย์การอ่าน-อ่านสะสมแต้ม • รณรงค์ส่งเสริมการอ่านเพื่อชีวิต • ส่งเสริมการอ่านในวาระสำคัญๆ • คาระวานการอ่าน

  10. 5 แผนงาน 20 โครงการ แผนงานที่ 2 เพิ่มสมรรถนะการอ่าน •  Bookstart “แรกรักอ่าน” •  พัฒนาทักษะการอ่านวัยเรียน • พัฒนาการอ่านตามอัธยาศัย • เสริมทักษะการอ่าน e-Book • คลินิกภาษาไทย • อบรมครูภาษาไทย

  11. 5 แผนงาน 20 โครงการ แผนงานที่ 3 สร้างบรรยากาศและ สิ่งแวดล้อมการอ่าน •  พัฒนาบุคลากร •  ส่งเสริมการพัฒนาและผลิตหนังสือ • แนะนำหนังสือดีที่ควรอ่าน • พัฒนาเว็ปไซต์ส่งเสริมการอ่าน • ห้องสมุด 3 ดี

  12. 5 แผนงาน 20 โครงการ แผนงานที่ 4 เครือข่ายความร่วมมือการอ่าน  สร้างเอกภาพและความเข้มแข็ง ของเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน  อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน

  13. 5 แผนงาน 20 โครงการ แผนงานที่ 5 วิจัยและพัฒนาส่งเสริมการอ่าน  รวบรวม สรุปงานวิจัยส่งเสริมการอ่าน  พัฒนาให้บรรลุเป้าหมาย “ทศวรรษการอ่าน”

  14. ปัจจัยสำคัญในการอ่าน 1.นิสัยรักการอ่าน 2.ความสามารถในการอ่าน 3.บรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการอ่าน

  15. การอ่านเป็นวาระแห่งชาติ "ห้องสมุด 3 ดี" บ้าน ที่ทำงาน ที่สาธารณะ และ สถานศึกษาต้องร่วมกันสร้างบรรยากาศ เพื่อส่งเสริมการรักการอ่านให้เด็กในระบบ และนอกระบบ รวมถึงผู้ใหญ่ด้วย เป็นการ ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต

  16. "ห้องสมุด 3 ดี" ประกอบด้วย หนังสือดี บรรยากาศดี บรรณารักษ์ดี

  17. “หนังสือดี” หมายถึง หนังสือ และสื่อการเรียนรู้ดี มีคุณภาพ มีเนื้อหาสาระถูกต้อง ไม่เป็นพิษเป็นภัย และตรงใจ ผู้อ่านในรูปสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออื่นๆ เพื่อส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ของประชาชน ทุกกลุ่มเป้าหมาย

  18. “บรรยากาศดี” หมายถึง ห้องสมุดประชาชนที่เอื้อต่อการอ่าน การเรียนรู้ การค้นคว้า อุดมไปด้วยความรู้ ความบันเทิง และเชื้อเชิญให้ทุกคนเข้ามาใช้บริการเสมือนหนึ่ง เป็นบ้านหลังที่สองสะอาด ร่มรื่น ปลอดโปร่งและ ปลอดภัย

  19. ภายนอกห้องสมุด • ตัวอาคาร-สวยงาม,สะอาด

  20. สะอาด,สวยงาม

  21. ซุ้มรักการอ่าน

  22. นิทรรศการหนังสือดีที่น่าอ่านนิทรรศการหนังสือดีที่น่าอ่าน

  23. นิทรรศการเทิดไท้องค์ราชันนิทรรศการเทิดไท้องค์ราชัน

  24. มุมความรู้เศรษฐกิจ พอพียง ร่มไม้,ไม้ยืนต้น

  25. สวนหย่อม สวนหย่อม

  26. สวนหย่อม, มุมความรู้ สวนหย่อม

  27. สวนหย่อม,น้ำพุ สวนหย่อม, ป้ายยินดีต้อนรับ

  28. ผักสวนครัว ในกระถาง

  29. 2.บรรยากาศภายใน • แสงสว่าง---แสงตามธรรมชาติ,แสงไฟฟ้า • ฝ้าเพดาน • ผนัง---สีสวย,สบายตา • ที่นัง---ที่นั่งเตียง,ที่นั่งกลุ่ม,กึ่งนั่งกึ่งนอน • การแบ่งโซน---เงียบกริบ,สงบพอคุยได้บ้าง,ส่วนกิจกรรม • กลิ่น---ห้องน้ำ,ส่วนติดต่อ,ส่วนอ่านหนังสือ • อุณหภูมิ---ห้ามร้อนเด็ดขาด

  30. บรรยากาศ ภายใน บรรยากาศ ภายใน

  31. บรรยากาศ ภายใน บรรยากาศ ภายใน

  32. บรรยากาศ ภายใน บรรยากาศ ภายใน

  33. “บรรณารักษ์ดี” หมายถึง บรรณารักษ์และบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน ห้องสมุด บุคลิกต้อนรับ,เป็นกันเอง,ยิ้มแย้มแจ่มใส,พูดเก่งพอดี,มีจิตบริการ,มีความรู้ลึก รู้รอบ รู้กว้าง รู้ไกลทันสมัย ทันความเปลี่ยนแปลงของสังคม เป็นนักจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ เป็นผู้บริหารจัดการความรู้ที่ดี และเป็นผู้ปฏิบัติงานอย่างมีความสุข

  34. กิจกรรมภายใน ห้องสมุด กิจกรรมภายใน ห้องสมุด

  35. กิจกรรม นอกสถานที่ นิทรรศการ, ห้องสมุด เคลื่อนที่

  36. กิจกรรม นอกสถานที่ นิทรรศการ, ห้องสมุด เคลื่อนที่

  37. จัดกิจกรรม นอกสถานที่ จัดกิจกรรม

  38. กิจกรรมในการส่งเสริมการอ่านกิจกรรมในการส่งเสริมการอ่าน 1. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านเน้นทักษะการอ่าน - เล่านิทาน - แข่งขันตอบปัญหา - ห้องสมุดเคลื่อนที่ - ค่ายรักการอ่าน - ยอดนักอ่าน

  39. กิจกรรมในการส่งเสริมการอ่าน (ต่อ) 2. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่เน้นการ เผยแพร่ข่าวสาร - เสียงตามสาย - วันสำคัญ - ย่ามหนังสือสู่ชุมชน - แหล่งความรู้ในท้องถิ่น - นิทรรศการ

  40. กิจกรรมในการส่งเสริมการอ่าน (ต่อ) 3. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่เน้นการ แก้ไข และพัฒนา - คลินิกหมอน้อย - พี่ช่วยน้อง - ให้ความรู้การใช้ห้องสมุด - แข่งขันเปิดพจนานุกรม

  41. กิจกรรมในการส่งเสริมการอ่าน (ต่อ) 4. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่เน้นพัฒนา ทักษะอันต่อเนื่อง - หนูน้อยนักล่า - เล่าเรื่องจากภาพ - โต้วาที - เรียงความยุวทูตความดี

  42. สิบกลวิธีการสร้างนิสัยรักการอ่านสิบกลวิธีการสร้างนิสัยรักการอ่าน วิธีที่ 1.ใช้เวลาสบายๆของครอบครัว เพื่อส่งเสริมการอ่าน - ใช้เวลาว่างพ่อแม่อ่านหนังสือให้ลูกฟัง วิธีที่ 2.เลือกหนังสือดีที่เด็กสนุก - เลือกหนังสือดีที่มีคุณภาพ เป็นการผูกพันให้ เด็กรักการอ่าน

  43. วิธีที่ 3.ให้เด็กได้รู้เรื่องราวหลากหลาย - หนังสือเกี่ยวกับนิทานชาดก,เรื่องประวัติศาสตร์,ประวัติบุคคลสำคัญ วิธีที่ 4.มีกิจกรรมพัฒนาทักษะการคิด - ระดับต้น จำเข้าประยุกต์ใช้ - ระดับสูง วิเคราะห์สังเคราะห์ประเมิน

  44. วิธีที่ 5.ใช้ทักษะนาฏการในการเล่า - มีศิลปะในการเล่า เช่น แยกเสียงบรรยาย, เล่าอย่างมีชีวิตชีวา,ออกเสียงชัดเจน,มีความสุขในการเล่า วิธีที่ 6.ใช้กิจกรรมศิลปะเชื่อมโยงกับการอ่าน - เช่น วาดรูประบายสี ทำละคร ร้องเพลง

  45. วิธีที่ 7.สอนให้รู้จักสกัดความรู้และจับใจความสำคัญ - เช่น การจับใจความสำคัญในการอ่าน วิธีที่ 8.ต่อยอดจากประสบการณ์เดิมของผู้เรียน - เช่น จัดกระบวนการเรียนรู้ ปลูกฝังนิสัย รักการอ่าน

  46. วิธีที่ 9.นำเด็กสู่โลกแห่งวรรณคดี - ส่งเสริมให้เด็กอ่านหนังสือวรรณกรรม เช่น พระอภัยมณี นิทานชาดก รามเกียรติ์ พระราชพิธีสิบสองเดือน กาพย์เห่เรือ (เจ้าฟ้ากุ้ง) อิเหนา วิธีที่ 10.พัฒนาทักษะภาษาสู่โลกกว้าง - การอ่านทำให้รู้จักตนเอง และรู้จักโลก

  47. “สวนดุสิตโพล”สำรวจความคิดเห็นของ“สวนดุสิตโพล”สำรวจความคิดเห็นของ นักเรียน ครูอาจารย์ ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไป

  48. 1. ความถี่ในการใช้บริการห้องสมุดประชาชน ภาพรวม อันดับ 1 มากกว่า 4 ครั้ง ต่อเดือน 32.61% อันดับ 2 น้อยกว่าเดือนละครั้ง 21.74% อันดับ 3 เดือนละ 1-2 ครั้ง 19.56% อันดับ 4 เดือนละ 3-4 ครั้ง 18.48% อันดับ 5 ทุกวัน 7.61%

  49. 2. คุณลักษณะของบรรณารักษ์ที่ดี/น่าประทับใจ ภาพรวม อันดับ 1 ยิ้มแย้ม แจ่มใส เป็นมิตร อารมณ์ดี มนุษยสัมพันธ์ 27.62% อันดับ 2 มีจิตวิญญาณในการให้บริการ รักงานบริการ เต็มใจบริการและชอบช่วยเหลือผู้ใช้บริการ 22.65% อันดับ 3 รอบรู้ในงานที่ตนรับผิดชอบ ตั้งใจทำงาน/ใส่ใจในงาน สามารถให้ข้อมูลกับผู้ใช้บริการได้อย่างถูกต้อง 19.89% อันดับ 4 สื่อสารชัดเจน อัธยาศัยดี พูดจาไพเราะ ไม่จู้จี้ ขี้บ่น ไม่พูดเสียงดัง 16.57% อันดับ 5 มีมารยาทดี นิสัยดี มีน้ำใจ รู้กาลเทศะ ใจเย็น สุขุม และตรงต่อเวลา 4.97%

  50. 2. คุณลักษณะของบรรณารักษ์ที่ดี/น่าประทับใจ (ต่อ) ภาพรวม อันดับ 6 บุคลิกลักษณะดี ชวนมอง หน้าตาดี/สวย 2.76% อันดับ 7 รักอาชีพบรรณารักษ์ รักการอ่านหนังสือ 2.21% อันดับ 8 มีความคิดทันสมัย สร้างสรรค์ และเฉลียวฉลาด 1.65%อันดับ 9 มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ รักษากฎระเบียบ 1.10%อันดับ 10 หมั่นทำความสะอาด และดูแลรักษาอุปกรณ์อำนวยความสะดวกภายในห้องสมุด 0.58%

More Related