1.09k likes | 1.47k Views
ยินดีต้อนรับ. ท่านผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข เขต 10 (นายสุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย) และคณะ 23-24 สิงหาคม 2555. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. ทิศเหนือ ติดตํอ กับ สปป. ลาว
E N D
ยินดีต้อนรับ ท่านผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข เขต 10 (นายสุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย) และคณะ 23-24 สิงหาคม 2555 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทิศเหนือ ติดตํอกับ สปป.ลาว ทิศตะวันตก ติดตํอกับ เทือกเขาเพชรบูรณ์ อำเภอหลํมเกำ จังหวัดเพชรบูรณ์ อำเภอนครไทยอำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก ทิศตะวันออก ติดตํอกับ อำเภอสังคม จังหวัดหนองคาย อำเภอน้้าโสม อำเภอสุวรรณคูหา จังหวัดอุดรธานี และอำเภอนาวัง จังหวัดหนองบัวลำภู ทิศใต้ ติดตํอกับอำเภอน้้าหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ อำเภอภูผามำน จังหวัดขอนแกํน และอำเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวลำภู จ.หนองคาย ปากชม เชียงคาน จ.อุดรธานี ท่าลี่ เมืองเลย นาด้วง นาแห้ว ภูเรือ จ.พิษณุโลก เอราวัณ วังสะพุง ด่านซ้าย การปกครองแบ่งออกเป็น 14 อำเภอ90ตำบล 916 หมู่บ้าน20 ชุมชน 1 เทศบาลเมือง 24 เทศบาลตำบล 75อบต.1อบจ. ภูหลวง หนองหิน จ.หนองบัวลำภู ผาขาว ภูกระดึง จ.ขอนแก่น จ.เพชรบูรณ์
ข้อมูลประชากรจังหวัดเลย จำแนกตามกลุ่มอายุ ปี 2544 เปรียบเทียบ ปี 2554
โครงสร้างประชากร ปี 2544 เปรียบเทียบ ปี 2554
ข้อมูลสถานบริการสาธารณสุขข้อมูลสถานบริการสาธารณสุข 1ข้อมูลสถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ 2 ข้อมูลสถานบริการเอกชน • รพท. 1 แห่ง • • 402 เตียง- รพช. 12 แห่ง • • 90 เตียง 1 แห่ง • • 60 เตียง 2 แห่ง • • 30 เตียง 9 แห่ง • - รพ.จิตเวชเลย ราชนครินทร์ • - รพ.ค่ายศรีสองรัก • รพ.สต. • • ขนาดใหญ่ 8 แห่ง • • ขนาดกลาง 77 แห่ง • • ขนาดเล็ก 42 แห่ง
ขนาดของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ข้อมูลบุคลากรด้านสาธารณสุขข้อมูลบุคลากรด้านสาธารณสุข ทั้งจังหวัด 3,677 คน ข้าราชการ 1,652คน 44.9 % พนักงานราชการ 37 คน 1.0 % ลูกจ้างประจำ 342 คน 9.3 % ลูกจ้างชั่วคราว 1,646 คน 44.8 % เฉพาะ สสจ.เลย 147 คน ข้าราชการ 110 คน 74.8 % พนักงานราชการ 3 คน 2.1 % ลูกจ้างประจำ 10 คน 6.8 % ลูกจ้างชั่วคราว 24คน 16.3 %
การเงินการคลังและการบริหารการเงินการคลังและการบริหาร
สรุปการจัดสรรงบเหมาจ่ายรายหัวล่วงหน้าปีงบ 2555 หลังปรับลด 5%
รายได้โรงพยาบาลแยกตามสิทธิ ปี 2555 (ต.ค.54-มิ.ย.55)
รายได้โรงพยาบาลแยกตามสิทธิ ปี 2555 (ต.ค.54 - มิ.ย.55)ต่อ
รายจ่ายโรงพยาบาลประเภทต่างๆ ปี 2555(ต.ค.54 - มิ.ย.55)
รายจ่ายโรงพยาบาลประเภทต่างๆ ปี 2555(ต.ค.54 - มิ.ย.55) ต่อ
จำนวนเงินที่หน่วยบริการได้รับแยกระดับหน่วยบริการจำนวนเงินที่หน่วยบริการได้รับแยกระดับหน่วยบริการ หมายเหตุ ไม่รวมงบลงทุนไม่รวมเงินเดือน ไม่รวมเงิน ONTOP
สรุปการเบิกจ่ายงบประมาณ ค่าตอบแทนใช้สอยฯ ปี 2555 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
สรุปการเบิกจ่ายงบประมาณ ค่าตอบแทนใช้สอยฯ ปี 2555
การเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวม เบิกได้ร้อยละ 70 ขณะนี้อยู่ระหว่างเร่งรัดการเบิกจ่ายและตรวจสอบเอกสาร คาดว่า จะเบิกจ่ายแล้วเสร็จภายในเดือน สิงหาคม 2555
ความก้าวหน้างบลงทุน สสจ.เลย
1. งบผูกพัน ปี 2554 (ต่อ) • รายการปรับโฉมบริการด้านหน้า • จะเบิกจ่ายเสร็จสิ้นภายใน เดือน กันยายน 2555 • ส่วนรายการอื่น ๆ • จะขอก่อหนี้ผูกพันข้ามปี และได้มีการวางใบ PO แล้วทั้งหมด
2. งบครุภัณฑ์ก่อสร้างปี 2555
2. งบครุภัณฑ์ก่อสร้าง ปี 2555(ต่อ) *หมายถึง รายการที่จะขอก่อหนี้ผูกพันข้ามปี (4 รายการ) และมี 4 รายการ ที่จะเบิกจ่ายงบประมาณเสร็จสิ้น ภายใน ปี 2555
สถานการณ์การเงินการคลังสถานการณ์การเงินการคลัง
อัตราส่วนทุนหมุนเวียน Current Ratio (เท่า) ≥ 1.5ในจังหวัดเลย มี 5 รพ.ผ่านเกณฑ์ คือ รพ.นาด้วง รพ.เชียงคาน รพ.วังสะพุง รพ.ท่าลี่ และ รพ.ผาขาว
อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว Quick Ratio (เท่า) ≥ 1.0ในจังหวัดเลย มี 7 รพ.ผ่านเกณฑ์ คือ รพ.เลย รพ.นาด้วง รพ.เชียงคาน รพ.ท่าลี่ รพ.วังสะพุง รพ.ผาขาว และ รพ.เอราวัณ
อัตราส่วนเงินสดต่อหนี้สินหมุนเวียน Cash Ratio (เท่า) ≥ 0.8ในจังหวัดเลย มี 7 รพ.ผ่านเกณฑ์ คือ รพ.เลย รพ.นาด้วง รพ.เชียงคาน รพ.ท่าลี่ รพ.วังสะพุง รพ.ผาขาว และ รพ.เอราวัณ
การวิเคราะห์ความเสี่ยงทางการเงินตามดัชนีแสดงฐานะการเงิน 7 ระดับ ในจังหวัดเลย มี 6 รพ. มีความเสี่ยงทางการเงินอยู่ในระดับ 6,7 คือ รพ.ปากชม รพ.นาแห้ว รพ.ภูเรือ รพ.ภูกระดึง รพ.ภูหลวง และ รพ.ด่านซ้าย
การเฝ้าระวังความเสี่ยงทางการเงินรายหน่วยบริการ ระดับความเสี่ยง 7 ระดับ จังหวัดเลย ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2555(ไตรมาส 3)
การจัดระดับสถานบริการ ของจังหวัดเลยตาม SERVICE PLAN รพท.(S) ระดับตติยภูมิ จำนวน 1 แห่ง (รพท.เลย 402 เตียง) ระดับทุติยภูมิ (รพช.แม่ข่าย) (รพร.ด่านซ้าย 60 เตียง) รพช.แม่ข่าย(M2) ระดับทุติยภูมิ (รพช.ขนาดใหญ่) จำนวน 1 แห่ง (รพ.วังสะพุง 90 เตียง) รพช. ใหญ่ (F1) ระดับสถานบริการ ระดับทุติยภูมิ (รพช.ขนาดกลาง) จำนวน 10 แห่ง (รพ.ภูกระดึง (60 เตียง) รพ.เชียงคาน ท่าลี่ ปากชม ภูเรือ นาแห้ว นาด้วง ผาขาว ภูหลวง เอราวัณ (30 เตียง) รพช. กลาง (F2) ระดับทุติยภูมิ (รพช.ขนาดเล็ก) จำนวน 1 แห่ง (รพ.หนองหิน 10 เตียง) รพช. เล็ก (F3) ระดับปฐมภูมิ จำนวน 127 แห่ง ขนาดใหญ่ 8 แห่ง ขนาดกลาง 77 แห่ง ขนาดเล็ก 42 แห่ง รพ.สต. (P2) ศสม.เมือง (P1) รพ.เลย (2 แห่ง)
แผนยกระดับ/พัฒนาศักยภาพบริการสุขภาพ จังหวัดเลย ปากคาด F2 โซ่พิสัย
แผนความต้องการเตียงของ รพ.ในจังหวัดเลย จำนวนเตียง ต่อ ประชากร ปี 2556 (882 เตียง) =1: 706 ปี 2560 (1,024 เตียง) = 1 : 608
แผนสนับสนุนทรัพยากร (สิ่งก่อสร้างและครุภัณฑ์)
แผนสนับสนุนบุคลากร (อัตรากำลัง 22 สายงาน)
การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
แสดงจำนวนโรงพยาบาลที่ได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาลตามลำดับขั้นแสดงจำนวนโรงพยาบาลที่ได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาลตามลำดับขั้น
แสดงสถานการณ์การรับรองคุณภาพโรงพยาบาลตามลำดับขั้น แยกรายโรงพยาบาล ธำรงขั้น2 ในปี 55 ยกระดับสู่ขั้น2 ในปี 55
แสดงผลการประเมินคุณภาพงานบริหารการพยาบาลตามมาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาล พ.ศ. 2550 เป้าหมายสถานบริการทุกแห่งต้องผ่านเกณฑ์ประเมิน≥ ร้อยละ 50
คุณภาพบริการด้านมาตรฐานความปลอดภัยด้านยาและการใช้ยาคุณภาพบริการด้านมาตรฐานความปลอดภัยด้านยาและการใช้ยา
ตารางรายการการใช้ยา 4 กลุ่มของโรงพยาบาลในจังหวัดเลย
ตารางเปรียบเทียบมูลค่าการใช้ยาจังหวัดเลยตารางเปรียบเทียบมูลค่าการใช้ยาจังหวัดเลย
สรุป ในปี 2555 การใช้ยานอกบัญชียาหลักฯ (NED) ของยา 4 กลุ่มรวมกัน มูลค่าการใช้ยาลดลงจาก ปี 2554 เท่ากับ 55.6%
ร้อยละการถูกปฏิเสธการส่งต่อผู้ป่วย 4 ระดับ ภาพรวมจังหวัด/เขต เปรียบเทียบปีงบประมาณ 2554 และ 2555 ในรอบ 9 เดือน (ตุลาคม – มิถุนายน ) • จากภาพข้างบนจะเห็นได้ว่าในปี 2555 ยังมีการปฏิเสธการส่งต่อทุกระดับ • ต้องประสาน รพ.ปลายทางหลายแห่ง ซึ่งสามารถประสาน รพ.ปลายทาง • เพื่อรับจาก รพ. ต้นทางสำเร็จทุกราย
การพัฒนาระบบบริการฉุกเฉินทางการแพทย์อย่างเป็นระบบและได้มาตรฐานการพัฒนาระบบบริการฉุกเฉินทางการแพทย์อย่างเป็นระบบและได้มาตรฐาน ผู้ป่วยภาวะวิกฤติฉุกเฉิน(สีแดง) มาโรงพยาบาลด้วยระบบ EMS ปี 2555 ร้อยละ 17.45 (ปี 2554 ร้อยละ 10.40) มีการแจ้งเหตุผ่านหมายเลข 1669 ร้อยละ 61.79 ระดับประเทศ 70.10 มีการประชุมคณะทำงานพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน(EMS) จังหวัดเลย จำนวน 6 ครั้ง มีแผนการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินร่วมกับองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดเลย โดยจัดหารถปฏิบัติการฉุกเฉินระดับ FR จำนวน 30 คัน (เทศบาล/อบต.) มีการมีการฝึกซ้อมแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอัคคีภัย ในอาคารสูงร่วมกับศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 12 อุดรธานี
ประสิทธิภาพการบริการด้านการรักษา ส่งเสริมป้องกัน และฟื้นฟู