220 likes | 340 Views
ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี. มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง. การสร้างความร่วมมือใน GMS เพื่อรองรับ AEC. ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง. โครงการอบรมหลักสูตรนักหารคลังมืออาชีพรุ่นที่ 2 22 พฤษภาคม 2556 โรงแรม วินเซอร์ สวีทส์.
E N D
ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง
การสร้างความร่วมมือใน GMS เพื่อรองรับ AEC ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง โครงการอบรมหลักสูตรนักหารคลังมืออาชีพรุ่นที่ 2 22 พฤษภาคม 2556 โรงแรมวินเซอร์สวีทส์
I. วิวัฒนาการ ASEAN / AEC / GMS • 1954 จาก SEATO สู่ ASEAN 1997 1995 1967 1954-1977 – SEATO จากการผลักดันโดยสหรัฐ 1997 1999 1967 1967 1967 1967 1984 1967 --- ก่อตั้ง ASEAN โดยเริ่มจาก 5 ประเทศ แล้วค่อยๆขยายเป็น 10 ประเทศ
I. วิวัฒนาการ (ต่อ) ก้าวย่างของ ASEAN สู่ ASEAN Community 1977 1993 1996 1997 1998 2003 2007 2008 2009 ASEANCommunity2015 ASEAN1967 PTA กฎบัตรอาเซียน(ASEAN Charter)มีผลบังคับใช้ AFTA AFAS ASEAN Vision 2020 • AEC 2015 --- เดินหน้าเต็มที่ • AFTA -> ATIGA เพิ่มเติมจาก AFTA(AFTA เสรีเต็มที่ในปี 2010) • AFAS --- เปิดเสรีต่อเนื่อง 7 สาขาบริการหลัก • AIA -> ACIA ความตกลงด้านการลงทุนครอบคลุมกว่า AIA เขตการลงทุนอาเซียน AIA ปฏิญญาบาหลีฟื้นฟูวิสัยทัศน์ ASEAN 2020 ปฏิญญาเซบู ASEAN Charterสู่ ASEAN Community ในปี 20153 เสาหลัก1. เศรษฐกิจ --- AEC : AFTA, AIA, AFAS2. ความมั่นคง3. สังคมและวัฒนธรรม
I. วิวัฒนาการ (ต่อ) 3. • ASEAN – Association of Southeast Asian Nations • 1964 SEATO (South east Asia Treaty Organization – US initiative) • 1967 ASEAN 5 (Indonesia, Malaysia, Philippines, Singapore, Thailand) Brunei เข้าร่วมในปี 1984 • 1978 จีนเริ่มใช้ระบบเศรษฐกิจตลาดบางส่วน • 1989 สิ้นสุดสงครามเย็น • 1991 สหภาพโซเวียต แยกตัว การแผ่ขยายของระบบเศรษฐกิจตลาด + ประชาธิปไตย • 1995 อาเซียนเริ่มขยายตัวจาก ASEAN 6 เป็น ASEAN 10 (Vietnam, 1995; Lao PDR, 1997; Myanmar, 1997; Cambodia, 1999) • 2008 มีกฎบัตรอาเซียนที่นำไปสู่การเป็นประชาคม ASEAN (ASEAN Community) • 2015 ASEAN Community • เศรษฐกิจ Free flow of goods and services + investment and professionals • สังคม Social harmony • มั่นคง Common security policy
I. วิวัฒนาการ (ต่อ) แผนงานสำคัญภายใต้ AEC Blueprint เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ 4 ด้าน การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน การเป็นภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขันสูง 1 Single Market andProduction Base High Competitive Economic Region 2 การเป็นภูมิภาคที่มีการพัฒนา ทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน การเป็นภูมิภาคที่บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลกได้อย่างสมบูรณ์ Equitable EconomicDevelopment Integration intoGlobal Economy 3 4
I. วิวัฒนาการ (ต่อ) CLMV • ประเทศเหล่านี้มีปัญหาทางการเมืองถึง 140 ปี
I. วิวัฒนาการ (ต่อ) • GMS เป็นความร่วมมือในการพัฒนาเศรษฐกิจโดยใช้แนวทางของเศรษฐกิจระบบตลาด --- มี 9 สาขา • คมนาคมขนส่ง • โทรคมนาคม • พลังงาน • การค้า • การลงทุน • การเกษตร • สิ่งแวดล้อม • การท่องเที่ยว • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • การเปลี่ยนแปลงในพม่าตั้งแต่ปี 2010 ช่วยเร่ง การรวมตัวใน GMS (และ ASEAN) มุ่งเน้นการเชื่อมโยง (Connectivity) เป็นกลยุทธ์หลัก The 3rd Thai-Lao Bridge, opened on 11/11/2011 8
I. วิวัฒนาการ (ต่อ) GMS ในปี 1992 “In the future, we will see more infrastructural connectivity within the sub-region, including transport, telecommunication, power lines and energy.” Roads Telecommunications Power Transmission Line
I. วิวัฒนาการ (ต่อ) 2006 – GMS เริ่มมีความเชื่อมโยงทางกายภาพมากขึ้น Roads Telecommunications Power Transmission Line
II. GMS สู่AEC GMS ในปี 2015 สิ่งที่จะเกิดขึ้นใน AEC ตั้งแต่ปี 2015.... ตลาด10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง Roads Telecommunications Power Transmission Line
Political-Security Community Exchange of Commercial Traffic Rights among Thailand-Lao PDR – China and over the 4th Friendship Bridge ASEAN Community Economic Community Socio-Cultural Community Kyaukpyu Deep Seaport Kyaukpyu • Thailand-Lao PDR-China High-Speed Train • Singapore-Kunming Rail Link Border Area Development Dawei Deep Seaport / Industrial Estate Had Yai – Sadao Motor Way ที่มา: NESDB
II. GMS สู่ AEC (ต่อ) • GMS สามารถใช้ประโยชน์จากการขยายตัวของจีน และข้อตกลงของ ASEAN ในการเป็นประชาคมเศรษฐกิจ • GMS สนับสนุนการเชื่อมโยงเอเชีย ตอ. – ตต. และ เหนือ –ใต้ รวมถึงจีน • ภายใน GMS ทั้ง ยูนนาน และ กวางสีต่างก็กำลังก้าวไปสู่การขยายตัวตามความก้าวหน้าของเศรษฐกิจจีน • ขณะที่ เศรษฐกิจไทยเป็นหนึ่งในห่วงโซ่การผลิตที่สำคัญของโลกแล้ว และกำลังพัฒนาไปสู่การเป็นศูนย์กลาง logistic ในภูมิภาค
III. การสร้างความร่วมมือใน GMS เพื่อรองรับAEC
III. การสร้างความร่วมมือ (ต่อ) • CLMV และAEC • ระบบเศรษฐกิจตลาดได้รับการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะพม่าหลังจากเปลี่ยนแปลงและเปิดประเทศมากขึ้นตั้งแต่ปี 2010 • กรอบเวลาของ AEC ในปี 2015 ต้องได้รับการผลักดันไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิผล โดยเฉพาะการส่งเสริม / สนับสนุน ผู้ประกอบการ/วิสาหกิจเอกชนในประเทศ • เตรียมการรองรับการเข้ามาแข่งขันของ สินค้า, บริการ, ธุรกิจ และผู้ประกอบวิชาชีพจากต่างประเทศ ซึ่งเป็นผลจากการเปิดเสรีตามกรอบ AEC มากขึ้น
III. การสร้างความร่วมมือ (ต่อ) • ไทย – GMS และAEC • ควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาตามแนวระเบียงเศรษฐกิจต่างๆ : ทั้งตะวันออก – ตะวันตกและเหนือ – ใต้ • พัฒนาความร่วมมือทางพลังงาน และความมั่นคงด้านอาหาร • GMS - จีน • มณฑลกวางสีเป็นประตูสู่ ASEAN ของจีน • มณฑลยูนนานเป็นจุดเชื่อมโยงจีนสู่ GMS • ต้องมีการร่วมมือ/ปรึกษาร่วมกันอย่างใกล้ชิด
III. การสร้างความร่วมมือ (ต่อ)
III. การสร้างความร่วมมือ (ต่อ)
III. การสร้างความร่วมมือ (ต่อ)
III. การสร้างความร่วมมือ (ต่อ)