210 likes | 913 Views
อนาคตการสาธารณสุขไทย ในช่วงทศวรรษหน้า. นพ.อำพล จินดาวัฒนะ. 25 เมษายน 2549. ความเชื่อมโยงและพลวัตเกี่ยวกับสุขภาพ. กายภาพ/ชีวภาพ. นโยบายสาธารณะ. กรรมพันธุ์. เศรษฐกิจ/การเมือง. พฤติกรรม. วัฒนธรรม/ศาสนา. ประชากร/การศึกษา. ความเชื่อ. ปัจเจกบุคคล. สภาพแวดล้อม. ความมั่นคง. จิตวิญญาณ.
E N D
อนาคตการสาธารณสุขไทย ในช่วงทศวรรษหน้า นพ.อำพล จินดาวัฒนะ 25 เมษายน 2549
ความเชื่อมโยงและพลวัตเกี่ยวกับสุขภาพความเชื่อมโยงและพลวัตเกี่ยวกับสุขภาพ กายภาพ/ชีวภาพ นโยบายสาธารณะ กรรมพันธุ์ เศรษฐกิจ/การเมือง พฤติกรรม วัฒนธรรม/ศาสนา ประชากร/การศึกษา ความเชื่อ ปัจเจกบุคคล สภาพแวดล้อม ความมั่นคง จิตวิญญาณ การสื่อสาร/คมนาคม วิถีชีวิต สุขภาพ เทคโนโลยี/องค์ความรู้ การแพทย์&สาธารณสุข กระแสหลัก ระบบบริการ สาธารณสุข บริการส่งเสริม&ป้องกัน& รักษา&ฟื้นฟู การแพทย์แผนไทย&พื้นบ้าน การแพทย์ทางเลือกอื่น ๆ พลวัต
ระบบสุขภาพแห่งชาติทิศทาง – สร้างนำซ่อม, HFA AFH (4) รัฐธรรมนูญ (1) โลกาภิวัตน์ ระบบย่อยในระบบสุขภาพแห่งชาติ -ระบบนโยบาย -ระบบสร้างความรู้-ระบบสร้างเสริม -ระบบข้อมูล&การสื่อสารสุขภาพ-ระบบควบคุมป้องกัน -ระบบภูมิปัญญาท้องถิ่น -ระบบบริการสธ. -ระบบกำลังคนของสาธารณสุข-ระบบคุ้มครองผู้บริโภค -ระบบการเงินการคลัง (5) ปฏิรูปราชการและกระจายอำนาจ (2) เศรษฐกิจ กลไกในระบบสุขภาพแห่งชาติ (6) สถานการณ์สุขภาพ (3) สังคม กระทรวงสาธารณสุข พัฒนาการจากอดีตถึงปัจจุบันบทบาทหน้าที่ ปัจจุบันสู่อนาคตโครงสร้างกสธ. ปัจจุบันสู่อนาคต
พ.ร.บ. สวรส. • (35) การปฏิรูประบบราชการ และการกระจายอำนาจ (42,45) สร้างความรู้/การเรียนรู้ระบบสุขภาพ • เครื่องมือปรับการทำงานของภาครัฐ • พ.ร.บ.กองทุนสร้างเสริมสุขภาพ(43) • สนับสนุนรูปธรรมการสร้างเสริมสุขภาพแบบกว้าง • พ.ร.บ. หลักประกันสุขภาพ(45) • ปฏิรูประบบบริการ • สาธารณสุข โดยใช้ • การเงินเป็นเครื่องมือ • กลไกนโยบายและยุทธศาสตร์เพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม (ร่าง) พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ (43) การปฏิรูประบบเพื่อสุขภาพที่สำคัญ การปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ (HSR) มวลประชาร่วมใจเพื่อการมีสุขภาพดีถ้วนหน้า (AFH HFA)
สุขภาพดีถ้วนหน้า สิทธิ หน้าที่ ความมั่นคงด้านสุขภาพ คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (คสช.), สมัชชาสุขภาพ • การสร้างเสริมสุขภาพ • การสร้างและการจัดการความรู้ด้านสุขภาพ • การป้องกันและควบคุมปัจจัยที่คุกคามสุขภาพ • ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสารด้านสุขภาพ • การบริการสาธารณสุขและการควบคุมคุณภาพ • บุคลากรด้านสาธารณสุข • ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ • การเงินการคลังด้านสุขภาพ • การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ • การพัฒนานโยบายสาธารณสะเพื่อสุขภาพ การมีส่วนร่วมของประชาชนทุกระดับในระบบสุขภาพ
หน่วยงานส่วนภูมิภาค อปท. ความเชื่อมโยงของกลไกต่างๆ ในระบบสุขภาพแห่งชาติ รัฐสภา ครม. สภาที่ปรึกษา สภาพัฒน์ฯ ธรรมนูญ ว่าด้วย ระบบสุขภาพแห่งชาติ • ให้ข้อเสนอแนะนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ • บริหารกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ สคสช. สสส. กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงอื่นๆ ที่ทำงานเกี่ยวข้องกับสุขภาพ สปสช. สวรส. • สร้างความรู้ • เชิงระบบ • บริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ • ดำเนินงานด้านสุขภาพ เครือข่าย วิชาการ วิชาชีพ ด้านสุขภาพ เครือข่าย ประชาคมและภาคีสุขภาพ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่าย สื่อมวลชน เครือข่ายเอกชนด้านสุขภาพ เครือข่ายอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ (สวรส. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สสส.-สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, สปสช.-สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ,สคสช.-สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ) สปรส.26 ธ.ค. 2548
6 10 สนองงานตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่เกี่ยวกับสุขภาพ ดูแลการควบคุมป้องกันโรค และภัยที่คุกคามสุขภาพ 2 5 ดูแลการบังคับใช้ กฎหมายด้านสุขภาพ ดูแลการสร้างและการจัดการความรู้ด้าน สุขภาพ 7 ดูแล กำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของประเทศ 9 ดูแลการเงินการคลังเพื่อจัดให้มีบริการสุขภาพ 4 3 ดำเนินงานด้านสุขภาพระหว่างประเทศ เสริมสร้างศักยภาพ ด้านสุขภาพแก่องค์กร ภาคส่วนต่าง ๆและ ภาคประชาชน กำหนดและกำกับดูแลมาตรฐาน ด้านสุขภาพ แก่ประชาชนทั่วไปและประชาชนกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ 8 สร้างความมั่นคงและเสถียรภาพของทรัพยากรด้านสุขภาพ บทบาทหน้าที่กระทรวงสาธารณสุขที่คาดหวัง ณ ปี 2550-2555
อนาคต 5 ปี( 2550 – 2555 ) ปัจจุบัน(2549) อนาคตหลังจากนั้น Excellence center &รพ.เฉพาะทาง 1.พัฒนา ปรับปรุง รูปแบบต่อเนื่อง หรือ2.ให้ อปท.เข้ามามีส่วน ร่วมในดีกรีที่มากขึ้น หรือ • แต่ละแห่งเป็นหน่วยงานของรัฐที่มิใช่ราชการ (นิติบุคคล) • รวมกันเป็นหน่วยงานในกำกับของรัฐที่มิใช่ราชการในกำกับของกสธ.(นิติบุคคล)(1) 3๐care 2๐care 3.ถ่ายโอนให้ อปท. กำกับดูแล 1๐care
(1) (1) เป็นนิติบุคคลที่ประกอบด้วยสถานบริการต่างระดับ อาจยึดตาม พท.จังหวัด หรือกลุ่มจังหวัด (region) หรือเป็นนิติบุคคลที่ประกอบด้วยสถานบริการต่างระดับ อาจมีเฉพาะ รพ. ส่วน สอ.อาจถ่ายโอนสู่ อปท. เพื่อทำงานด้านสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพ (งานสาธารณสุข) • การปรับเป็นนิติบุคคล ควรใช้การตรา พ.ร.บ.รองรับเป็นการเฉพาะ เนื่องจากมีลักษณะจำเพาะ • (2) ควรใช้วิธีวิจัยทดลองด้วยการปฏิบัติจริงในบางพื้นที่/บางหน่วยงาน • (3) กสธ. ส่วนกลางควรมีกลไกดูแลการประสานนโยบายและทิศทางในภาพรวม เพื่อให้เกิดเอกภาพเชิงนโยบาย แต่หลากหลายเชิงปฏิบัติ(ไม่ใช่กลไกบังคับบัญชา
กสธ. รมว. สธ. ปลัด กสธ. หน่วยงาน กลไกดูแลนโยบายส่งเสริมสนับสนุนสถานบริการสุขภาพในกำกับ นิติบุคคลบริการสุขภาพ กรมจังหวัด สสจ. นิติบุคคลบริการสุขภาพ สสอ.
แผนและขั้นตอนไปสู่เป้าหมายแผนและขั้นตอนไปสู่เป้าหมาย 1. เสนอผลการสังเคราะห์ต่อผู้กำหนดนโยบายเพื่อตัดสินใจ • บทบาทหน้าที่ กสธ. • แนวทางการปรับโครงสร้าง • ทิศทางการปรับเปลี่ยนสถานภาพ สถานบริการสุขภาพ 2. กสธ.ตั้งกลไกดูแลการปรับเปลี่ยน • ให้มี คกก. ประกอบด้วยบุคคลจากหลายภาคส่วน • มีองค์กรรองรับการทำงาน 5-10 ปี “สำนักบริหารการเปลี่ยนแปลง กสธ.” • หน้าที่ • จัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง • สนับสนุนการทำงานวิชาการจัดให้มีการเตรียมความพร้อมทุกด้าน • เป็นที่ปรึกษาของผู้กำหนดนโยบาย ฯ
สวัสดี ขอบพระคุณ