640 likes | 2.05k Views
วิสัยทัศน์กรมสรรพสามิต. “ องค์กร พลวัต เพื่อการจัดเก็บ ภาษี ที่ มีมาตรฐานสากล ปกป้อง สังคม สิ่งแวดล้อม และ พลังงาน ”. พันธกิจกรมสรรพสามิต. ยุทธศาสตร์กรมสรรพสามิต. ค่านิยม กรมสรรพสามิต. Standardization (ความมีมาตรฐาน). STARS. S. Satisfaction (ความพึงพอใจ). Transparency
E N D
วิสัยทัศน์กรมสรรพสามิตวิสัยทัศน์กรมสรรพสามิต “ องค์กรพลวัต เพื่อการจัดเก็บภาษี ที่มีมาตรฐานสากล ปกป้องสังคม สิ่งแวดล้อม และพลังงาน ”
ยุทธศาสตร์กรมสรรพสามิตยุทธศาสตร์กรมสรรพสามิต
ค่านิยม กรมสรรพสามิต Standardization (ความมีมาตรฐาน) STARS S Satisfaction (ความพึงพอใจ) Transparency (ความโปร่งใส) T S STARS R A Rapid & Simplicity (ความรวดเร็วและเรียบง่าย) Accountability (จิตสำนึกความรับผิดชอบ)
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์กระทรวงการคลังกับยุทธศาสตร์กรมสรรพสามิตความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์กระทรวงการคลังกับยุทธศาสตร์กรมสรรพสามิต กลยุทธ์ เป้าประสงค์ กระทรวงการคลัง วิสัยทัศน์ กรมสรรพสามิต ยุทธศาสตร์ กระทรวงการคลัง พันธกิจกรมสรรพสามิต วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ เป้าหมายที่ II ยุทธศาสตร์ 1 กลยุทธ์ 1.3 เป้าประสงค์ 1.3.2 เพิ่มประสิทธิภาพ การจัดเก็บภาษี เพื่อส่งเสริมฐานะ ทางการคลังอย่างยั่งยืน องค์กรพลวัต เพื่อการจัดเก็บภาษี ที่มีมาตรฐานสากล ปกป้องสังคม สิ่งแวดล้อม และพลังงาน Dynamic Organization for World-class Tax Collection Standard, Social Protection and Green Economy เป้าหมายที่ II ยุทธศาสตร์ 3 กลยุทธ์ 3.1 เป้าประสงค์ 3.1.1 เสริมสร้างความยั่งยืน ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และพลังงาน เป้าหมายที่ III ยุทธศาสตร์ 1 กลยุทธ์ 1.1 เป้าประสงค์ 1.1.1 กลยุทธ์ 1.1 เป้าประสงค์ 1.1.2 กลยุทธ์ 1.1 เป้าประสงค์ 1.1.3 ผลักดันมาตรฐานบริการ สู่ความเป็นเลิศ ระดับสากล เป้าหมายที่ III ยุทธศาสตร์ 2 กลยุทธ์ 2.1 เป้าประสงค์ 2.1.1 กลยุทธ์ 3.1 เป้าประสงค์ 3.1.1 เป้าหมายที่ III ยุทธศาสตร์ 3 บริหารงาน แบบองค์กรพลวัต โดยยึด หลักธรรมาภิบาล กลยุทธ์ 3.2 เป้าประสงค์ 3.2.1 กลยุทธ์ 3.2 เป้าประสงค์ 3.2.2 กลยุทธ์ 3.3 เป้าประสงค์ 3.3.2
ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Challenges)
การมุ่งสู่ “ความเป็นองค์กรชั้นนำ” • โครงการยุทธศาสตร์ มีความท้าทาย สะท้อนการทำงานที่ชัดเจน เพื่อบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์องค์กร • มุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน • (การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน, • การบริการเพื่อตอบสนองความพึงพอใจ • ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสูงสุด, • ความคุ้มค่าในการปฏิบัติงาน) • การสร้างสรรค์นวัตกรรม • การจัดการความรู้ (KM)
การบริหารยุทธศาสตร์ ด้วยการตอบ 4 คำถามสำคัญ
5 Pillars of Strategy Management 5 หลักของการจัดการกลยุทธ์ • VISION & MISSION • CORE VALUES • KEY SUCCESS FACTORS • ORGANIZATIONAL DIRECTION • (ทิศทางขององค์กร) • CHALLENGES & ADVANTAGES • CORE COMPETENCY • OPPORTUNITIES • STRATEGIES 2. STRATEGY FORMULATION (การสร้างกลยุทธ์) • ACTION PLAN • RESOURCE PLAN • TRAINING PLAN 3. STRATEGY DEPLOYMENT (การประยุกย์ใช้กลยุทธ์) • KPI FORMULATION • KPI TRACKING SYSTEM • BENCHMARKING SYSTEM 4. PERFORMANCE MEASUREMENT (การวัดผลปฏิบัติการ) • ANALYSIS & REVIEW • IMPROVEMENT • REWARD & RECOGNITION • KNOWLEDGE MANAGEMENT 5. PERFORMANCE MANAGEMENT (การจัดการผลการปฏิบัติการ)
การกำหนดกลยุทธ์โดยใช้ SWOT Charts I) หาโอกาสที่จะใช้จุดแข็งให้มากขึ้น II) หาหนทางใหม่ๆ ที่สอดคล้องกับ โอกาส และจุดแข็ง III) เปลี่ยนอุปสรรค ไปสู่โอกาสด้วย จุดแข็งที่มี IV) เปลี่ยนจุดอ่อน ไปสู่จุดแข็งโดย การแก้ไขจุดอ่อน V) กำจัดจุดอ่อนออกไป I V IV II III
ตัวอย่างการกำหนดกลยุทธ์ทางเลือก TOWS Matrix (1) The TOWS Matrix : Heinz Weihrich (1982) Strategic Management and Business Policy (2006) : Wheelen & Hunger)
ตัวอย่างการกำหนดกลยุทธ์ทางเลือก TOWS Matrix (2) The TOWS Matrix : Heinz Weihrich (1982) Strategic Management and Business Policy (2006) : Wheelen & Hunger)
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมองค์กร (SWOT) 2556
ตัวอย่างการปฏิบัติตามนโยบายตัวอย่างการปฏิบัติตามนโยบาย ระบบการปฏิบัติตามนโยบาย และผลการดำเนินงาน โดยผ่านทางระบบฐานข้อมูลของบริษัท • ง่ายต่อการถ่ายทอดและการสื่อสาร • เป็นฐานข้อมูลสำหรับทุกหน่วยงาน • พนักงานทุกคนเข้าใจและนำไปปฏิบัติได้ • การจัดเก็บอย่างเป็นระบบ • (ง่ายต่อการติดตาม,แก้ไข,ปรับปรุง)
ตัวอย่างรายงานสถานะทางการเงินตัวอย่างรายงานสถานะทางการเงิน
แผนยุทธศาสตร์ ตามหลักของBSC (Balance Score Cards)
มุมมองผู้บริหารแผนยุทธศาสตร์ ภาครัฐ ตามหลักของBSC (Balance Score Cards) “จุดมุ่งหมายหลัก คือ การบริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล” Vision and Strategies วิสัยทัศน์และกลยุทธ์ มุมมองด้านการเงิน Financial/Budgetary Perspective “องค์กรควบคุมค่าใช้จ่ายหรืองบประมาณอย่างไร ในขณะที่เพิ่มคุณค่าการบริการแก่ลูกค้าและประชาชน?” “To achieve our vision, How do we add value for customer while controlling cost?” มุมมองของลูกค้า Customer Perspective “องค์กรควรสร้างคุณค่าให้กับลูกค้าและประชาชนอย่างไร?” “To achieve our vision, how do we create value for our customer?” Learning & Growth Perspective มุมมองด้านการเรียนรู้และพัฒนา Internal Perspective มุมมองด้านกระบวนการภายใน “เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์และสนับสนุนกระบวนการภายใน องค์กรต้องมีระบบข้อมูลและบุคคลากรอย่างไร?” “To accomplish our vision, and support internal processes, what kind of staff and information system do we need?” “ในงบประมาณที่จำกัด กระบวนการภายในอะไรบ้างขององค์กรที่ต้องมีความเป็นเลิศ?” “To satisfy customers while meeting budgetary constraints at which business processes must we excel?”
ตัวอย่างแผนที่ทางกลยุทธ์ ของหน่วยงานภาครัฐแห่งหนึ่ง
3 ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง 1. การกำหนดวัตถุประสงค์ (ObjectivesEstablishment) 2. การระบุความเสี่ยง Risk Management System 1 2 (Risk Identification) 3. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) 4 4. การสร้างแผนจัดการ (Risk ManagementPlanning) 5. การติดตามสอบทาน/สื่อสาร (Monitoring & Review / Communication)
Emergent and Deliberate Strategies กลยุทธ์ที่ใช้ได้จริงและกลยุทธ์ฉุกเฉิน Deliberate Strategy Planned strategy Realized strategy กลยุทธ์ที่สามารถใช้ได้อย่างตั้งใจ กลยุทธ์ที่วางแผนไว้ล่วงหน้า กลยุทธ์ที่นำไปใช้ได้จริง Unpredicted Change Unplanned Shift by Top-Level Manager การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม อย่างไม่คาดหวัง Emergent strategy Unrealized strategy ผู้บริหารระดับสูง ปรับเปลี่ยนตามสภาพการเปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ที่ใช้ในสถานการณ์ฉุกเฉิน กลยุทธ์ที่ไม่สามารถนำไปใช้ได้จริง Autonomous Action by Lower-level Manager Serendipity มั่นทบทวนกลยุทธ์และการปฎิบัติเป็นระยะและพร้อมปรับเปลี่ยนเมื่อจำเป็น การค้นพบอย่างบังเอิญ ผู้จัดการระดับล่างสามารถกำหนดเองได้ Strategic management : An Integrated Approach (2008) , Hill & Jones
การประเมินและควบคุมกลยุทธ์ (Strategy Evaluation and Control) 4 1 2 5 3 Does performance match standards? NO Determine what to measure Establish determined standards. Measure performance Take corrective action YES • ผู้บริหารและผู้จัดการ แต่ละระดับ กำหนด กลยุทธ์การวัดผลการดำเนินการอย่างไร • ร่วมกันกำหนดตัวชี้วัด ซึ่งมีการเห็นชอบร่วมกัน • วัดผลการดำเนินการที่ทำได้จริงตามที่กำหนดไว้ล่วงหน้า • หากผลเปรียบเทียบไม่ตรงกับเป้าหมายหรือมาตรฐานที่ตั้งไว้ • ต้องแก้ไขให้ถูกต้องโดยเร็ว • ผู้บริหารและผู้จัดการ แต่ละระดับ กำหนด เป้าหมายหรือเกณฑ์ การดำเนินการ Stop • เปรียบเทียบผลการดำเนินการกับเป้าหมายหรือมาตรฐานที่ตั้งไว้
โครงสร้างของการบริหารความเสี่ยงโครงสร้างของการบริหารความเสี่ยง เป้าหมายที่กำหนดสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมขององค์กรหรือไม่ การรายงานผลเป็นไปอย่างถูกต้องหรือไม่ ความเสี่ยงที่กำหนดครอบคลุมความเสี่ยงที่สำคัญแล้วหรือไม่
โครงสร้างของการบริหารความเสี่ยงโครงสร้างของการบริหารความเสี่ยง ตัวชี้วัดความเสี่ยงเป็นเครื่องเตือนภัยที่ดีหรือไม่ และได้มีการเก็บข้อมูลไว้เพื่อเป็นเครื่องเตือนภัยหรือไม่ การจัดการความเสี่ยงจะช่วยลดผลกระทบได้หรือไม่ มีความคุ้มค่าหรือไม่ และได้มีการดำเนินการตามที่กำหนดหรือไม่ การประเมินโอกาสและผลกระทบสอดคล้องกับอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้นมาแล้วและคาดว่าจะเกิดขึ้นหรือไม่
การประเมินความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง Likelihood Ranking
การประเมินความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง Consequence Ranking
ตารางการประเมินความเสี่ยงตารางการประเมินความเสี่ยง
ตารางประเมินผลการควบคุมตารางประเมินผลการควบคุม
ตัวอย่างการประเมินความเสี่ยง เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยง ระดับความเสี่ยง = I x L กรณีที่องค์กรต้องหยุดดำเนินการ
ตัวอย่างการประเมินความเสี่ยง เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยง กรณีที่องค์กรต้องหยุดดำเนินการ ระดับความเสี่ยง = I x L
การสร้างแผนจัดการความเสี่ยง การสร้างแผนจัดการความเสี่ยง Treat Take Terminate Transfer
แนวทางในการบริหารความเสี่ยงแนวทางในการบริหารความเสี่ยง 1. การกำหนดความเสี่ยงที่บริษัทเผชิญอยู่ หรือการวิเคราะห์ความเสี่ยง ถือเป็นสิ่งที่จำเป็นที่สุดที่แต่ละองค์กรจะต้องสามารถวิเคราะห์และกำหนดให้ได้ว่าองค์กรหรือหน่วยงานใดในองค์กรต้องเผชิญกับความเสี่ยงใดบ้าง ซึ่งความเสี่ยงที่เกิดขึ้นอาจมีขนาดและผลกระทบที่แตกต่างกัน โดยที่ความเสี่ยงบางประเภทอาจจะมีผลกระทบน้อยมาก ในขณะที่ความเสี่ยงบางประเภทอาจมีแนวโน้มที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่องค์กรได้มาก ดังนั้นธุรกิจจึงควรที่จะวิเคราะห์และกำหนดความเสี่ยงที่ธุรกิจนั้นเผชิญให้ได้ 2. การหาวิธีการจัดการกับความเสี่ยง 2.1 การลดความเสี่ยง (Treat)ความเสี่ยงที่ได้รับอาจลดลงได้ ด้วยวิธีการหาทางป้องกันเพื่อมิให้มีความเสียหายเกิดขึ้น การลดความเสี่ยงนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะลดจำนวนครั้งของความเสียหายลง หรือลดความรุนแรงของเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต การวิเคราะห์อาจอาศัยข้อมูลในอดีต ปัจจุบัน ซึ่งรวมถึงข้อมูลการคาดการณ์ในอนาคตประกอบการตัดสินใจ 2.2 การรับความเสี่ยง (Take)ไว้เอง คือการที่ผู้บริหารขององค์กรนั้นๆ ยินยอมที่จะรับภาระความเสี่ยงหรือความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นไว้เอง เนื่องจากเล็งเห็นว่าโอกาส หรือความน่าจะเป็นที่จะเกิดความเสียหายอยู่ในวิสัยที่การทำธุรกิจนั้นยอมรับได้
แนวทางในการบริหารความเสี่ยงแนวทางในการบริหารความเสี่ยง 2.3 การโอนความเสี่ยง (Take) เป็นวิธีการจัดการความเสี่ยงอีกรูปแบบหนึ่งที่ธุรกิจจะต้องวิเคราะห์และตัดสินใจที่จะเลือกโอนความเสี่ยงออกไปในรูปแบบใด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของธุรกิจนั้นๆ เช่น การโอนความเสี่ยงไปให้บุคคลอื่นที่มิใช่บริษัทประกันโดยสัญญา หรือการโอนความเสี่ยงไปให้บริษัทประกันภัยตามรูปแบบและเงื่อนไขที่ธุรกิจต้องการ 2.4 การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Terminate) การหลีกเลี่ยงความเสี่ยงอาจกระทำได้โดยวิธีการง่ายๆโดยที่ธุรกิจไม่พยายามเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจกรรมที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง อย่างไรก็ตามวิธีการหลีกเลี่ยงความเสี่ยงนี้น่าจะเป็นวิธีสุดท้ายหลังจากที่ได้พิจารณาแล้วเห็นว่าไม่อาจใช้วิธีการอื่นเข้ามาแก้ไขได้เท่านั้น การตัดสินใจในวิธีการนี้ธุรกิจต้องเปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียก่อนการตัดสินใจ 3. การคัดเลือกวิธีการที่ดีที่สุด การตัดสินใจคัดเลือกวิธีการบริหารความเสี่ยงจะต้องคำนึงถึง • ความรุนแรงที่อาจเกิดขึ้นหากเลือกวิธีการดังกล่าว และการเตรียมแนวทางแก้ไข • ค่าใช้จ่ายที่จะใช้ในการจัดการตามวิธีการที่คัดเลือกมีจำนวนมากน้อยเพียงใด • ผลกระทบต่อฐานะทางการเงินของธุรกิจที่อาจได้รับจากการตัดสินใจเลือกวิธีการดังกล่าว
การเลือกกลยุทธ์จัดการความเสี่ยงการเลือกกลยุทธ์จัดการความเสี่ยง
3 ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง 1. การกำหนดวัตถุประสงค์ (ObjectivesEstablishment) 2. การระบุความเสี่ยง Risk Management System 1 2 (Risk Identification) 3. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) 4 4. การสร้างแผนจัดการ (Risk ManagementPlanning) 5. การติดตามสอบทาน/สื่อสาร (Monitoring & Review / Communication)
ความรุนแรงของผลกระทบ (Consequence ) ความเป็นไปได้ของโอกาสที่จะเกิด (Likelihood) ระดับความเข้มข้นของ การควบคุม/การตรวจสอบ (Internal Control) CU-QA ( PM,WI,SD) Trade off Trade off การประเมินความเสี่ยง ประเด็นในการพิจารณา เพื่อประเมินความเสี่ยงตาม ระบบการบริหารความเสี่ยง Balance
Diagramming Techniques • Cause and Effect Diagrams Inadequate Time Project Prioritization Testing Product Delivered Late Insufficient Resources Bad Specs Personnel Materials Effect (ผลลัพท์) Potential Causes (ต้นเหตุ)
หลักเกณฑ์การปรับปรุง หลักเกณฑ์การศึกษาเพื่อปรับปรุง สำรวจสภาพปัจจุบัน ข้อเท็จจริงหัวข้อประเมิน What Where When Who Howอะไร ที่ไหน เมื่อใด ใคร อย่างไร ทำไมต้องเป็นอย่างนั้น ค้นหาวัตถุประสงค์ WHY ทำไม เพื่ออะไร ทำไมต้องเป็นอย่างนั้น ทำไมต้องเป็นเวลานั้น ทำไมต้องเป็นคนนั้น หลักเกณฑ์การปรับปรุง 4 ข้อ E (กำจัด) C(ผนวกรวม ) S(ทำให้ง่ายชึ้น) R(สลับเปลี่ยน) สกัดความคิด (ไอเดีย) ออกมา เลิกทำได้หรือไม่ พร้อมกัน คนเดียวกัน ทำที่เดียวกัน ทำให้ง่ายขึ้น สถานที่อื่น เวลาอื่น คนอื่น ไอเดียของการปรับปรุง
วิธีการการแก้ปัญหาและการตัดสินใจวิธีการการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การตัดสินใจ 6W3H 5W1H • What (ทำอะไร) • When (ทำเมื่อไร) • Where (ทำที่ไหน) • Why (ทำทำไม) • Who (ทำโดยใคร) • How (ทำอย่างไร) • What • When • Where • Why • Who • Whom (ทำเพื่อใคร) • How (ทำอย่างไร) • How many (ขนาดเท่าไร) • How much (จ่ายเท่าไร)
Professional : Work Smart Model Choice (C) (ทางเลือก) Practical (P) (ทางปฏิบัติ) A A A A B A B AB AB A B C AB AC BC ABC ABC A B C P = 2C
3 ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง 1. การกำหนดวัตถุประสงค์ (ObjectivesEstablishment) 2. การระบุความเสี่ยง Risk Management System 1 2 (Risk Identification) 3. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) 4 4. การสร้างแผนจัดการ (Risk ManagementPlanning) 5. การติดตามสอบทาน/สื่อสาร (Monitoring & Review / Communication)
Risk Management Planning Risk Identification Qualitative Risk Analysis Quantitative Risk Analysis Risk Response Planning Risk Monitoring and Control การประเมินความเสี่ยงและควบคุม Tools & Techniques เครื่องมือและเทคนิค Outputs Inputs Risk Register (UPDATED) • Risk reassessment • ประเมินความเสี่ยงใหม่ • Risk audits • ตรวจสอบความเสี่ยงใหม่ • Variance and trend analysis • วิเคราะห์แนวโน้มและความแปรปรวน • Technical performance measurement • การวัดสมรรถนะทางเทคนิค • Reserve analysis • วิเคราะห์แผนสำรองและทรัพยากร • Status meetings • ประชุมสรุปสถานะต่างๆทั้งหมด Risk Management Plan Requested Changes Risk Register Recommended Corrective Actions Approved Change Requests Recommended Preventive Actions Work Performance Information Org Process Assets (Update) Performance Reports Project Management Plan (Update)
แนวทางและวิธีการปรับปรุงประสิทธิภาพของกรมฯแนวทางและวิธีการปรับปรุงประสิทธิภาพของกรมฯ
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของความเสี่ยงจากปัจจัยภายนอก (PEST) ที่มีผลต่อยุทธศาสตร์ของกรมสรรพสามิตทั้ง 4 ด้าน WS 3