220 likes | 552 Views
งานวิจัยของศิริราช ผลการรักษาวันที่ 3 URI (1,241 ครั้ง ) ดีขึ้น หาย ไม่ดีขึ้น ATB(13%) 60.2% 39.1% 0.6% No ATB(87%)62.5% 36.9% 0.6% Diarrhea (210 ครั้ง ) ATB(19.1%) 30.0% 67.5% 2.5% NoATB(80.9%)30.6% 69.4% 0.0%. โรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคติดเชื้อที่เกิดจากเชื้อใหม่
E N D
งานวิจัยของศิริราช ผลการรักษาวันที่ 3 URI (1,241 ครั้ง) ดีขึ้น หาย ไม่ดีขึ้น ATB(13%) 60.2% 39.1% 0.6% No ATB(87%)62.5% 36.9% 0.6% Diarrhea (210ครั้ง) ATB(19.1%) 30.0% 67.5% 2.5% NoATB(80.9%)30.6% 69.4% 0.0%
โรคติดต่ออุบัติใหม่ • โรคติดเชื้อที่เกิดจากเชื้อใหม่ • โรคติดเชื้อที่พบในพื้นที่ใหม่ • โรคติดเชื้ออุบัติซ้ำ • โรคติดเชื้อดื้อยาปฏิชีวนะ • โรคติดเชื้อจากอาวุธชีวภาพ
30-60% of E.coli & K.pneumoniae เป็น ESBL-producers (Extended-Spectrum-Beta-Lactamase) ดื้อต่อยา Cephalosporins , Aminoglycoside Quinolones รักษาด้วย Carbapenem(Ertapenem , Imipenem , Meropenem , Doripenem
พบEnterobacteriaceae(E.coli , Klebsiella , Enterobacter) ในอาหาร เช่น เนื้อวัว หมู ปลา ผักชี ลาบ และ น้ำคลอง และเป็น ESBL + ve bacteria
ตอนนี้เชื้อดื้อต่อ Carbapenems แล้ว Carbapenem-Resistant Enterobacteriaceae CRE
Global Risks 2014 • Economic Risks • Environmental Risks • Geopolitical Risks • Sociatal Risks • Technological Risks
การควบคุมการดื้อยาปฏิชีวนะการควบคุมการดื้อยาปฏิชีวนะ • ส่งเสริมพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสม • ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยส่วนบุคคลที่เหมาะสม
ระบบการควบคุมและป้องกันการดื้อยาระบบการควบคุมและป้องกันการดื้อยา • เฝ้าระวัง เชื้อดื้อยาปฏิชีวนะ การใช้ยาปฏิชีวนะ • ควบคุมและป้องกันการติดเชื้อและการแพร่กระจายเชื้อ • วิจัยและพัฒนาการรักษา ควบคุม และป้องกันการดื้อยา • สร้างความตระหนักแก่สังคมเรื่องเชื้อดื้อยาและงดใช้ยาปฏิชีวนะโดยไม่จำเป็น • ใช้ยาปฏิชีวนะอย่างเหมาะสม
คนไทยติดเชื้อดื้อยา ประมาณ 90,000คน เสียชีวิตจากเชื้อดื้อยาประมาณ 30,000คน มูลค่ายาปฏิชีวนะรักษาเชื้อดื้อยา 6,000ล้านบาท ความสูญเสียเศรษฐกิจรวม 40,000ล้านบาท
องค์กรที่ให้การสนับสนุนองค์กรที่ให้การสนับสนุน • สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส) • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส) • คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล • International Development Research Center (IDRC) • Asia-Pacific Economic Co-operation (APEC) • Asia Pacific Foundation for Infectious Disease (APFID)
Upper Respiratory Tract Infection (J00 – J219) Acute Diarrhea (A000 – A09 , K521 , K528 , K529)
การใช้ยาปฏิชีวนะจะสัมพันธ์กับการเกิดเชื้อดื้อยาในผู้ป่วยรายนั้นๆการใช้ยาปฏิชีวนะจะสัมพันธ์กับการเกิดเชื้อดื้อยาในผู้ป่วยรายนั้นๆ การใช้ยาปฏิชีวนะปริมาณมากหรือระยะเวลานานมีโอกาสเกิดเชื้อดื้อยามากขึ้น (BMJ 2010;340:c2096)
ชนิดกลุ่มอาการ URI จาก โรงพยาบาลศิริราช • Common cold 56% • Pharyngitis/Tonsillitis 32% • Acute Bronchitis 11% • Acute Sinusitis 1%
การตรวจพบ Group A Strep. • URI ทั้งหมดพบ 7.9% • Common cold 4.5% • Pharyngitis/Tonsillitis 16% • Acute Bronchitis 3.1% • Acute Sinusitis 0% • ผู้ป่วย URI < 10% ควรได้ยาปฏิชีวนะ
ผู้ป่วยท้องเสีย 1,433,230 ราย มีอาการของโรคบิด ไข้ อุจจาระเป็นมูกเลือด พบแบคทีเรีย 19,026 ราย(1.3%) เป็น Shigella spp. 0.3%