1 / 38

การบริหารยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน ปี ๒๕๕๖

การบริหารยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน ปี ๒๕๕๖. นาย พิสันติ์ ประ ทานชว โน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน. วันที่ 28 พฤศจิกายน 2555 ณ โรงแรมเอเชีย แอร์ พอร์ต จ.ปทุมธานี. ประเด็นนำเสนอ. ส่วนที่ 1 ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน. วิสัยทัศน์. ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง. ชุมชนเข้มแข็ง.

rusti
Download Presentation

การบริหารยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน ปี ๒๕๕๖

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน ปี ๒๕๕๖ นายพิสันติ์ ประทานชวโน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน วันที่ 28 พฤศจิกายน 2555 ณ โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ต จ.ปทุมธานี

  2. ประเด็นนำเสนอ

  3. ส่วนที่ 1 ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน

  4. วิสัยทัศน์ ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง ชุมชนเข้มแข็ง การบริหารจัดการชุมชน เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ กลไกการพัฒนา มีศักยภาพและ ขีดความสามารถ จัดการตนเองได้ • เศรษฐกิจพอเพียง • ทุนชุมชน • มุ่งอนาคตร่วมกัน • พึ่งตนเอง • องค์กรบริหารการพัฒนา • แผนชุมชน • ข้อมูลเพื่อการพัฒนา ปรับตัวทันการเปลี่ยนแปลง • ผู้นำชุมชน • อาสาสมัคร • กลุ่ม/องค์กร • เครือข่าย ประชาชนอยู่เย็นเป็นสุข เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง ทุนชุมชนมีธรรมาภิบาล เศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเองได้ KM, R&D, HRD, HRM, IT, Org.Cul., Marketing, Supporting

  5. ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ.2555-2559 เป้าหมาย ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง 5. การเสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง 1. สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข พันธกิจ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ พัฒนาระบบบริหารจัดการชุมชน พัฒนาระบบเศรษฐกิจชุมชน การพัฒนาสมรรถนะองค์กร 4. เสริมสร้าง ธรรมาภิบาลและความมั่นคงของ ทุนชุมชน 2. เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน 3. ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 6 6

  6. แผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙

  7. แผนที่ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดีมีความสุข ชุมชนมีขีดความสามารถ ในการบริหารจัดการแบบบูรณาการ ภูมิปัญญาท้องถิ่นยกระดับไปสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ชุมชนมีธรรมาภิบาล และความมั่นคง ประสิทธิผล ครัวเรือนยากจนตามเกณฑ์รายได้ จปฐ. หมดไป ชุมชนมีความสุข มวลรวม ชุมชน (GVH) ที่เพิ่มขึ้น ข้อมูล จปฐ. และ กชช.๒ค ได้รับการยอมรับและใช้ประโยชน์ ผู้นำ/องค์กร/เครือข่ายมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการชุมชน แผนชุมชนมีมาตรฐานและนำไปใช้แก้ไขปัญหาในชุมชน ชุมชนมี การจัดการความรู้ เพื่อพัฒนาอาชีพและ คุณภาพชีวิต ผู้ผลิตผู้ประกอบการมีรายได้จาก การจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น ชุมชนมี การอนุรักษ์และเผยแพร่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์ชุมชนมีคุณภาพได้มาตรฐาน ชุมชนมีแหล่งทุน ในการประกอบอาชีพแก้ไขปัญหาความยากจน และจัดสวัสดิการชุมชน ชุมชนสามารถ ใช้ทุนชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชนและ ใช้ประโยชน์จากทุนชุมชน คุณภาพ การให้บริการ การแก้ไข ปัญหา ครัวเรือนยากจน แบบ บูรณาการ เสริมสร้างความสุข มวลรวมชุมชนโดยพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง บริหารจัดการข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบทไทย ขับเคลื่อนและ บูรณาการแผนชุมชนสู่ การปฏิบัติ ส่งเสริม การบริหารจัดการความรู้ของชุมชน พัฒนาผู้ผลิต ผู้ ประกอบการ และการตลาด ส่งเสริม การสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นเผยแพร่สู่เวทีโลก พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยองค์ความรู้และนวัตกรรม ส่งเสริม ธรรมาภิบาลของ กองทุนชุมชน พัฒนาทุนชุมชนให้มั่นคงสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เพิ่มขีด ความ สามารถ ผู้นำ องค์กร เครือข่าย ประสิทธิภาพ บริหารทรัพยากรบุคคลเชิงยุทธศาสตร์เพื่อเพิ่มขีดสมรรถนะองค์กร องค์กรมีสมรรถนะสูงเกิดประโยชน์สุขต่อประชาชน เสริมสร้างภาพลักษณ์ขององค์กร พัฒนาองค์กร พัฒนาองค์กรที่เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลง : องค์กรแห่งการพัฒนาเครือข่ายการพัฒนาชุมชน พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริหารยุทธศาสตร์

  8. โครงการกิจกรรม สำคัญ 1 • หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ OTOP

  9. 1 10 10

  10. 2 • การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ภารกิจกรมการพัฒนาชุมชน การเสริมสร้างความเข้มแข็งของหมู่บ้าน/ชุมชน การพัฒนากลไกแกนนำในพื้นที่ เช่น กลุ่มอาสาสมัคร เสริมสร้างความเข้มแข็งกองทุนแม่ของแผ่นดิน กองแผนงาน

  11. การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 2 เป้าหมายชุมชนเข้มแข็ง ตำบลสีขาวปลอดยาเสพติด กิจกรรม แนวทางการดำเนินงาน กองทุนแม่ของแผ่นดิน • ตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน • ต้นกล้ากองทุนแม่ของแผ่นดิน • - ศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอำเภอ /จังหวัด หมู่บ้านเป้าหมายตามข้อมูล ป.ป.ส./มท - ตรวจสอบความถูกต้องของการสำรวจเพื่อจำแนกสถานะของหมู่บ้าน/ชุมชน เข้มแข็งเอาชนะยาเสพติด พัฒนาศักยภาพผู้นำชุมชน • พัฒนากลไกแกนนำในพื้นที่ - สอดแทรกเนื้อหาเข้าในหลักสูตรต่างๆ • ดำเนินกิจกรรมพัฒนาต่างๆ เพื่อเฝ้าระวังและมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงปลอดยาเสพติด ขับคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงให้ปลอดยาเสพติด 4,549 หมู่บ้าน แผนชุมชน - ส่งเสริมให้แผนชุมชนมีโครงการ/กิจกรรมด้านยาเสพติดและนำแผนไปใช้ประโยชน์โดยชุมชนดำเนินการเอง ศูนย์เรียนรู้ชุมชน -ส่งเสริมการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้ชุมชนป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน 12

  12. 3 • กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี • ผลการดำเนินงาน • ลงทะเบียนสมาชิก 18 กพ– 31 มีค 55 จำนวน 10,217,764 คน ตรวจสอบถูกต้องแล้ว 7,473,646 คน • การคัดเลือกกรรมการฯระดับตำบล/จังหวัด/กทม. วันที่ 17-24 มิย 55 • การโอนเงินกองทุนฯ จังหวัดๆ ละ 20 ล้านบาท รวม 1,540 ล้านบาท • คำสั่งคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ ที่ 1-3 / 2555 ลงวันที่ 1 ตุลาคม 2555 แต่งตั้งคณะกรรมการ • 1) คณะกรรมการบริหารกองทุน • 2) คณะกรรมการประเมินผล • 3) คณะอนุกรรมการดำเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี • (1) คณะอนุกรรมการพัฒนาศักยภาพสตรี • (2) คณะอนุกรรมการพัฒนาอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • (3) คณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตสตรีและผู้ด้อยโอกาส • (4) คณะอนุกรรมการพัฒนาศักยภาพกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี • (5) คณะอนุกรรมการด้านกฎหมายและระเบียบ

  13. 3 • กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี • การดำเนินงานต่อไป • ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลและบันทึกการรับลงทะเบียนเป็นสมาชิกกองทุนฯ แล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๓๑ ต.ค. ๒๕๕๕ • จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด/ตำบล เพื่อเลือกตั้งประธาน รองประธาน เลขานุการ และผู้ช่วยเลขานุการ ตามระเบียบฯ รวมทั้งแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตำบลทุกตำบล • จัดทำระเบียบและแผนการใช้จ่ายเงินกองทุนฯ ของจังหวัด • จัดทำยุทธศาสตร์กองทุนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด • เตรียมโอนเงินงบประมาณ

  14. 4 • การจัดเวทีประชาเสวนา • คณะอนุกรรมการกำกับทิศทางการดำเนินการจัดเวทีประชาเสวนา • - ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน • - อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน เป็นรองประธาน • ผู้อำนวยการสำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน พช. เป็นอนุกรรมการและเลขานุการ ผลการดำเนินงาน -จัดทำแนวทางการดำเนินงานจัดเวทีประชาเสวนา -มติ ครม. วันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๕๕ อนุมัติงบกลาง จำนวน ๙๐,๒๖๕,๐๐๐ บาท ให้กรมฯ เป็นหน่วยเบิกจ่าย

  15. 4 • การจัดเวทีประชาเสวนา การดำเนินงานต่อไป ๑) การจัดทำคู่มือและแนวทางการจัดเวที โดยสถาบันการศึกษา (ต.ค.-พ.ย. ๕๕) ๒) การอบรมวิทยากรกระบวนการ (พ.ย. – ธ.ค. ๕๕) ๓) การจัดเวทีประชาเสวนาในพื้นที่ภูมิภาคและกรุงเทพฯ โดยสถาบันการศึกษา (ธ.ค.๕๕ - ม.ค. ๕๖) ๔) การสรุปผลดำเนินงาน รายงานผลการจัดเวทีประชาเสวนา (ก.พ. ๕๖) ๕) การประชาสัมพันธ์ ทั้งก่อน ระหว่างและหลังดำเนินการ

  16. ส่วนที่ 2 การบูรณาการงานตามยุทธศาสตร์

  17. ๑. ความเป็นมา อธิบดี (นายขวัญชัย วงศ์นิติกร) กำหนดให้ผู้บริหารหน่วยงานสังกัดส่วนกลาง ผู้ตรวจราชการกรม และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ร่วมกันหาแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ โดยการร่วมกันกำหนดแนวทางการบูรณาการการทำงาน การแปลงนโยบายและยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ โดยมุ่งเน้นเพื่อลดภาระงานและค่าใช้จ่ายของการดำเนินงานในระดับพื้นที่

  18. ๒. ปัญหาอุปสรรคในการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ปัญหาเกี่ยวคน (บุคลากร ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และผู้เกี่ยวข้อง) ได้แก่ ๑. กลุ่มเป้าหมายซ้ำซ้อนกันในแต่ละกิจกรรม ๒. บุคลากรกรมการพัฒนาชุมชนบางส่วน ขาดศักยภาพในการ ให้การสนับสนุนข้อมูลการดำเนินงาน ๓. อัตรากำลังเจ้าหน้าที่มีไม่เพียงพอ ๔. ผู้นำไม่ได้รับการยกย่องเชิดชูอย่างต่อเนื่อง

  19. ๒. ปัญหาอุปสรรค(ต่อ) ปัญหาเกี่ยวกับงบประมาณ ๑. งบประมาณไม่เพียงพอ ๒. การจัดสรรงบประมาณไม่สัมพันธ์กับจำนวนกลุ่มเป้าหมาย

  20. ๒. ปัญหาอุปสรรค(ต่อ) ๓. ปัญหาเกี่ยวกับพื้นที่ดำเนินการ • ความไม่พร้อมของพื้นที่ เช่น ผู้นำไม่มีความพร้อม, • การแข่งขันกันทางการเมือง • ๒. ไม่มีการนำทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาใช้ • ให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง • ๓. สภาพภูมิประเทศ ภูมิสังคมที่แตกต่างกัน • ส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงาน • ของเจ้าหน้าที่ เช่น พื้นที่บนดอยสูง พื้นที่ชายแดนใต้

  21. ๓. ปัญหาอุปสรรค(ต่อ) ๔. ปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการ(ส่งเสริม สนับสนุน)ได้แก่ ๑. การดำเนินกิจกรรมบางกิจกรรมดำเนินการในห้วงเวลาเดียวกัน ๒. ความเร่งด่วนของงานที่ได้รับมอบหมายเป็นกรณีพิเศษส่งผลให้ไม่ สามารถดำเนินกิจกรรมตามยุทธศาสตร์กรมฯ ได้ตามแผนปฏิบัติการ ๓. บางกิจกรรมไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากระเบียบแนวทาง การปฏิบัติไม่เอื้ออำนวย ๔. รายละเอียด ขั้นตอน กระบวนการบางกิจกรรมมีมาก และไม่ตอบสนอง ความต้องการของประชาชน

  22. ๓. ปัญหาอุปสรรค(ต่อ) ๔. ปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการ(ส่งเสริม สนับสนุน)ต่อ ๕. นโยบายกรมฯ ขาดความเชื่อมโยงกับนโยบายส่วนท้องถิ่น ๖. การจัดเก็บและใช้ประโยชน์ข้อมูลเพื่อการพัฒนายังขาดประสิทธิภาพ ๗. ขาดระบบการจัดการความรู้ ๘. ชุมชนเน้นการพึ่งพาภายนอกมากกว่าการพึ่งตนเอง ส่งผลให้ ๙. การจัดระบบการจัดการไม่ชัดเจน ไม่เป็นระบบ เช่น การจัดการ ศูนย์การเรียนรู้ ๑๐. ขาดการพัฒนา สนับสนุน ส่งเสริมการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

  23. ๔. การบูรณาการยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน กิจกรรมบูรณาการ กิจกรรมบูรณาการ

  24. ๔. การบูรณาการยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน กิจกรรมบูรณาการ กิจกรรมบูรณาการ

  25. ๕. การบูรณาการงานพัฒนาชุมชนเชิงพื้นที่ หน่วยงานบูรณาการ หน่วยงานบูรณาการ

  26. ๕. การบูรณาการงานพัฒนาชุมชนเชิงพื้นที่ หน่วยงานบูรณาการ หน่วยงานบูรณาการ

  27. ส่วนที่ 3 การบริหารงบประมาณ ปี 2556

  28. งบประมาณรายจ่ายประจำปี 2556 กรมการพัฒนาชุมชน

  29. งบประมาณปี ๒๕๕๖ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร 4,468,656,900 บาท เพิ่มขึ้นจากปี 2555 ร้อยละ 1.34 แยกเป็นประเภทรายจ่าย ดังนี้

  30. ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง ผลผลิตที่ ๑ เสริมสร้างขีดความสามารถของพลังชุมชนในการจัดการและแก้ไขปัญหาของชุมชน ผลผลิตที่ ๒ ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้มีความมั่นคง เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทุนชุมชน การพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ ส่งเสริมและพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชนแบบบูรณาการ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการผลิตภัณฑ์ชุมชน ๑. พัฒนาศักยภาพผู้นำชุมชน จำนวน ๑๐,๕๐๐ คน 2. สนับสนุนแผนชุมชนบรรจุในแผนท้องถิ่น ๒๘,๕๐๐ แผนชุมชน 3. ศูนย์เรียนรู้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ 904 แห่ง - เก็บ ข้อมูล จปฐ. 8,400,000 ครัวเรือน - เก็บข้อมูล กชช.2ค 71,000 หมู่บ้าน - พัฒนาครัวเรือนยากจนที่ตกเกณฑ์ จปฐ. ๒๓,๐๐๐ ครัวเรือน - ชี้เป้าชีวิต - จัดทำเข็มทิศชีวิต - บริหารจัดการชีวิต - ดูแลชีวิต พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการทุนชุมชน ๕,๐๐๐ กองทุน ให้สามารถบริการเงินทุนในการประกอบอาชีพ จัดสวัสดิการชุมชน และแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ  การเพิ่มช่องทางการตลาด - ศิลปาชีพประทีปไทย OTOP ก้าวไกลด้วยพระบารมี - OTOP City 2013 - OTOP Midyear 2013 - OTOP ภูมิภาค - OTOP สานสัมพันธ์สองแผ่นดิน - OTOP Mobile to the Factory and Festival - OTOP to The department Store. - หมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว เพิ่มศักยภาพกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วย KBO การสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ๑. ขยายผลหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๘๗๘ หมู่บ้าน 2. รักษาสภาพหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง เดิม๓,๖๗๑ หมู่บ้าน กิจกรรมการดำเนินงานตามผลผลิต ปี ๒๕๕๖ 31 31

  31. กรอบการบริหารงบประมาณปี ๒๕๕๖ สำนักงบประมาณ : แจ้งให้ดำเนินการได้ทันทีโดยไม่ต้องรอเวลาตามไตรมาส

  32. แผนการใช้จ่ายงบลงทุน

  33. การขับเคลื่อนงบประมาณปี ๒๕๕๖ เดิม ใหม่ ดำเนินการทันที โดยให้เบิกจ่ายให้เร็วที่สุด กำหนดปฏิทินการทำงาน ตามไตรมาสเป็น ๒:๗:๓ เตรียมคน/งาน/พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย ๒ เดือน (ต.ค. - พ.ย. ๕๕) ลงมือทำงาน ๗ เดือน (ธ.ค. ๕๕ – มิ.ย. ๕๖) ติดตามสรุปผลการทำงาน ๓ เดือน ( ก.ค. – ก.ย. ๕๖)

  34. การบริหารงบประมาณประจำปี ๒๕๕๖ ๑. กรณีมีงบประมาณคงเหลือ/เหลือจ่าย จากการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ให้ส่งคืนเข้าสู่งบกลางเพื่อรวบรวมสำหรับใช้ในการบริหารงบประมาณในภาพรวมของกรมฯ ๒. หากมีความจำเป็นที่จะปรับแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ให้เสนอเพื่อขออนุมัติต่ออธิบดีฯ โดยผ่านผู้อำนวยการกองแผนงาน ๓. หากหน่วยงานประสงค์จัดทำโครงการ/กิจกรรมตามนโยบายผู้บริหาร ให้เสนอโครงการเพื่อขอความเห็นชอบและอนุมัติต่ออธิบดีฯ โดยผ่านผู้อำนวยการกองแผนงาน ส่วนกลาง

  35. การบริหารงบประมาณประจำปี ๒๕๕๖ กรณีมีงบประมาณคงเหลือ/เหลือจ่าย จากการดำเนินโครงการ/กิจกรรม จังหวัดสามารถใช้จ่ายงบประมาณดังกล่าว เพื่อดำเนินกิจกรรมที่ส่งผลต่อตัวชี้วัดกิจกรรมตามผลผลิตเดิม หรือกิจกรรมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมฯ ดังนี้ ๑) กิจกรรมการขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์จากข้อมูล จปฐ. และ กชช. ๒ค ในระดับจังหวัด ๒) กิจกรรมการบริหารจัดการการพัฒนาคุณภาพชีวิตของครัวเรือนยากจน จากข้อมูล จปฐ. ในระดับจังหวัด ทั้งนี้ มิใช่รายการครุภัณฑ์ และหากหมดความจำเป็นในการใช้จ่ายงบประมาณ เพื่อการดังกล่าวแล้ว ให้ส่งคืนกรมฯ ภายในวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๖ ส่วนภูมิภาค

  36. การแสวงหางบประมาณเพิ่มเติมการแสวงหางบประมาณเพิ่มเติม งบประมาณ บูรณาการ (9,799,300+) งบประมาณบูรณาการ

  37. การบริหารยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน ปี ๒๕๕๖ สวัสดี นายพิสันติ์ ประทานชวโน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน

More Related