480 likes | 695 Views
SPSS. ระบบคอมพิวเตอร์. Hard Disk สำหรับเก็บโปรแกรมสำเร็จ SPSS. Diskette สำหรับเก็บโปรแกรม SPSS และข้อมูล. หน้าต่างของโปแกรม SPSS. หน้าต่างประยุกต์ (Application Window) หน้าต่างผลลัพธ์ (Output Window) หน้าต่างบรรณาธิกรข้อมูล (Data Editor Window)
E N D
SPSS ระบบคอมพิวเตอร์ Hard Diskสำหรับเก็บโปรแกรมสำเร็จSPSS Diskette สำหรับเก็บโปรแกรมSPSS และข้อมูล
หน้าต่างของโปแกรม SPSS • หน้าต่างประยุกต์ (Application Window) • หน้าต่างผลลัพธ์ (Output Window) • หน้าต่างบรรณาธิกรข้อมูล (Data Editor Window) • หน้าต่างสร้างแผนภูมิ (Chart Carousel Window) • หน้าต่างแก้ไขแผนภูมิ (Chart Window) • หน้าต่างโปรแกรม (Syntax Window)
หน้าต่างประยุกต์ (Application Window)
หน้าต่างนี้จะเห็นเมนูให้เลือกใช้ดังนี้หน้าต่างนี้จะเห็นเมนูให้เลือกใช้ดังนี้ File Edit Data Transformation Statistics Graph Utilities Window Help
เมนู File ในเมนูนี้ จะมีคำสั่ง สร้างแฟ้มใหม่ เช่น แฟ้มข้อมูล แฟ้มโปรแกรม หรือนำแฟ้มที่มีอยู่แล้วของ SPSS หรือ นำแฟ้มจากฐานข้อมูลของโปรแกรมอื่น เช่น Oracle, SQL Server, Excel มาใช้งาน รวมทั้งมีคำสั่งพิมพ์ และติดตั้งเครื่องพิมพ์อีกด้วย เมนู Edit ในเมนูนี้ จะมีคำสั่งปรับปรุงแก้ไขข้อความ เช่น การลบ การทำสำเนา การปะ การค้นหาข้อความ การแทนที่ข้อความ ในหน้าต่างสร้างโปรแกรม และหน้าต่างผลลัพธ์
เมนู Data ในเมนูนี้ จะมีคำสั่งกำหนดตัวแปร การแทรกข้อมูลของตัวอย่างประชากร การเรียงลำดับ (Sort) และการผสานแฟ้ม (Merge) เมนู Transform ประกอบด้วยคำสั่ง คำนวน และคำสั่งเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปร
เมนู Statistics ในเมนูนี้จะมีชื่อโปรแกรมสำหรับคำนวณค่าสถิติต่าง ๆ ไว้ให้เลือกใช้ตามความต้องการ เมนู Graph สำหรับสร้างกราฟชนิดต่าง ๆ เมนู Utilities มีคำสั่งให้แสดงคำสั่งต่าง ๆ ของ SPSS เรียงตามลำดับอักษร คำสั่งให้แสดงรายละเอียดของตัวแปร คำสั่งเปลี่ยนแบบอักษร เป็นต้น
เมนู Window มีคำสั่ง การจัดเรียงหน้าต่าง คำสั่งควบคุม มีคำสั่งให้แสดงแถบสัญรูป (Icon Bar) และแถบสถานะ (Status Bar) รวมทั้งแสดงรายชื่อหน้าต่างที่เปิดใช้งานอยู่ เมนู Help สำหรับขอความช่วยเหลือเกี่ยวกับการใช้คำสั่งต่าง ๆ
แฟ้มในโปรแกรม SPSS 1 แฟ้มข้อมูล (Data files) คือแฟ้มข้อมูลที่ SPSS สามารถนำไปใช้ได้ แฟ้มนี้มาจากการคีย์ข้อมูลลงในตารางบันทึกข้อมูล ที่หน้าต่างบรรณาธิกรข้อมูล หรือสั่งให้โปรแกรมนำมาจากแฟ้มข้อมูลดิบ หรือจากฐานข้อมูลอื่น ๆ เมื่อสั่งบันทึกด้วยคำสั่ง Save โปรแกรมจะกำหนดสกุลให้เป็น .SAV
หน้าต่างบรรณาธิกรข้อมูลหน้าต่างบรรณาธิกรข้อมูล
Data Editor Text File Oracle SPSS Data File Excel SQL Server ที่มาของ SPSS Data Files
ตัวอย่างข้อมูลในแฟ้มข้อมูลของ SPSS $FL2@(#) SPSS DATA FILE MS WINDOWS Release 6.0 ’พY@07 Oct 9717:16:36SPSS/PC+ ATTITUDEIDA A1 "@A2 "@A3 "@A4 "@A5 "@A6 "@A7 "@A8 "@A9 "@A10 "@B1 "@B2 "@B3
แฟ้มของโปรแกรม SPSS 2 แฟ้มข้อมูลดิบ (Raw Data Files) คือแฟ้มข้อมูลที่ได้มาจากแบบสอบถาม หรือรวบรวมมาจากผลการทดลอง แล้วนำมาบันทึกลงจานบันทึก โดยใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูล แฟ้มนี้ต้องกำหนดสกุลเป็น .DAT
ตัวอย่างแฟ้มข้อมูลดิบ 12 15 20 24 9 12 35 46 43 55 17 20 32 17
แฟ้มของโปรแกรม SPSS 3 แฟ้มแผนภูมิ (Chart Files) คือแฟ้มที่ใช้เก็บ bar chart, pie chart, histogram scatter plot และแผนภูมิอื่น ๆ ที่โปรแกรมสร้างขึ้น มีสกุลเป็น .CHT
หน้าต่างสร้างกราฟ 30000 20000 Value Current Salary 10000 0 620 671 685 697 6745 Employee Code
หน้าต่างแก้ไขกราฟ Output Rotate
แฟ้มของโปรแกรม SPSS 4 แฟ้มโปรแแกรม (Text Files) คือแฟ้มคำสั่งของ SPSS ที่ผู้ใช้โปรแกรมกำหนดขึ้นมา แล้วบันทึกลงจานบันทึก โดยใช้โปรแกรมบรรณาธิกรใด ๆ หรือ อาจจะคีย์คำสั่งลงที่หน้าต่างสำหรับสร้างโปรแกรมของ SPSS ก็ได้ แฟ้มนี้กำหนดให้มีกุล เป็น .SPS
ตัวอย่างแฟ้มโปรแกรมของ SPSS Data list free records = 1 / x y . Begin data. Corr x with y.
แฟ้มของโปรแกรม SPSS 5 แฟ้มผลลัพธ์ (Output Files) แฟ้มนี้จะเกิดขึ้นหลังจากมีการสั่ง RUN โปรแกรม โดยจะปรากฎผลลัพธ์ที่หน้าต่างผลลัพธ์ เมื่อสั่ง Save ที่หน้าต่างนี้ โปรแกรมจะบันทึกผลที่ได้ลงจานบันทึก โดยจะมีสกุลเป็น .LST
ตัวอย่างแฟ้มผลลัพธ์ - - Correlation Coefficients - - Y X .5626 ( 20) P= .010 (Coefficient / (Cases) / 2-tailed Significance) " . " is printed if a coefficient cannot be computed
การเปิดแฟ้มใหม่มาใช้งานการเปิดแฟ้มใหม่มาใช้งาน
การเปิดแฟ้มเก่ามาใช้งานการเปิดแฟ้มเก่ามาใช้งาน
ตัวแปร (Variable) หมายถึง ชื่อ ที่ผู้เขียนโปรแกรมเป็นคนตั้งขึ้นมา เพื่อบอกถึงที่เก็บข้อมูลในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์
DO ANY WORK MARITAL STATUS EDUCATION ID SEX AGE SALARY 0001 1 35 6 2 1 15000 0002 2 22 1 1 2 99999 0004 1 30 4 3 1 7500 0005 2 24 1 1 1 4500 0010 1 27 5 1 1 8400 1 27 5 1 1 8400 0010 0012 1 28 3 2 1 6500
ข้อกำหนดในการตั้งชื่อของ SPSS 1. แต่ละชื่อมีความยาว 1 - 8 ตัวอักษร โดยที่อักขระตัวแรกของชื่อต้องเป็นตัวอักษร A - Z หรือ @, #, $ ตัวที่สองเป็นต้นไปจะเป็นอักษรหรือตัวเลขใด ๆ ก็ได้ รวมถึง จุด (.) เครื่องหมายขีดเส้นใต้ ( _ ) ได้อีกด้วย
ตัวอย่างชื่อที่ถูกต้องตัวอย่างชื่อที่ถูกต้อง IDNumber Sex age SCORE1 Math_1 ITEM.25 X1B52 Attitude
ตัวอย่างชื่อที่ไม่ถูกตัวอย่างชื่อที่ไม่ถูก IDENTIFICATION 100KB Test-15 %PASS !Stop Evaluation
ข้อกำหนดในการตั้งชื่อของ SPSS 2. ห้ามนำ คำสงวน(Reserve key word) มาตั้งเป็นชื่อของตัวแปร คำสงวน มักเป็นคำสั่งหรือชื่อฟังก์ชันต่าง ๆ ที่มีอยู่ใน SPSS ตัวอย่างเช่น ALL AND BY EQ GE LE LT NE NOT OR TO WITH SQRT EXP เป็นต้น
DO ANY WORK MARITAL STATUS EDUCATION ID SEX AGE SALARY 0001 1 35 6 2 1 15000 0002 2 22 1 1 2 99999 0004 1 30 4 3 1 7500 0005 2 24 1 1 1 4500 0010 1 27 5 1 1 8400 1 27 5 1 1 8400 0010 0012 1 28 3 2 1 6500
ID SEX AGE EDUCAT MARRY WORK SALARY 0001 1 35 2 1 15000 6 0002 2 22 1 1 2 99999 0004 1 30 4 3 1 7500 0005 2 24 1 1 1 4500 0010 1 27 5 1 1 8400 1 27 5 1 1 8400 0010 0012 1 28 3 2 1 6500
ชื่อตัวแปรกับหน่วยความจำชื่อตัวแปรกับหน่วยความจำ
คำสั่งตั้งชื่อตัวแปร DATA LIST / sex age weight educat.
คำสั่งตั้งชื่อตัวแปร DATA LIST / sex age weight educat item01 to item15.
Column 1 Column 80 Command Specification______________________ __________________________________________ _____________________________________ . คำสั่ง SPSS Column 80 Column 1 . Specification_____________________ Command
รายละเอียดเกี่ยวกับคำสั่งรายละเอียดเกี่ยวกับคำสั่ง What ? How ? Command Specification COMPUTE PERCENT = SCORE / TOTAL * 100 .
ตัวอย่างคำสั่ง SETBlanks = 0 . DATA LIST FILE = ‘TEST1.DAT’ FREE / ID SEX WEIGHT HEIGHT SCHOOL THAI ENGLISH MATH SCIENCE APTITUDE . FREQ VAR = SEX TO SCHOOL . CORR VAR = APTITUDE WITH THAI TO SCIENCE .