1 / 9

การเขียนแผนแบบ UBD

การเขียนแผนแบบ UBD. 1. การกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ ( Identify desired result ). นักเรียนควรจะรู้และเข้าใจเรื่องใด. มาตรฐานของเนื้อหา ( content standards ). มาตรฐานการปฏิบัติได้ ( performance. นักเรียนสามารถทำอะไรได้. standards ). ความเข้าใจที่คงทน ( Enduring understandings ).

sakura
Download Presentation

การเขียนแผนแบบ UBD

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเขียนแผนแบบUBD

  2. 1. การกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ (Identify desired result) นักเรียนควรจะรู้และเข้าใจเรื่องใด มาตรฐานของเนื้อหา (content standards) มาตรฐานการปฏิบัติได้ (performance นักเรียนสามารถทำอะไรได้ standards) ความเข้าใจที่คงทน (Enduring understandings) อะไรคือตะกอนความรู้ที่มีคุณค่า ที่มา: ฆนัท ธาตุทอง

  3. มาตรฐานของเนื้อหา(content standards) หมายถึง เนื้อหา สาระการเรียนรู้ที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้ มาตรฐานด้านการปฏิบัติ(performance standards) หมายถึง ข้อกำหนดที่แสดงถึงระดับคุณภาพที่ได้รับการยอมรับ (ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง)

  4. ความเข้าใจที่คงอยู่ ( Enduring understandings) หมายถึง ความรู้ที่สำคัญ (ตะกอนความรู้)ที่หลงเหลืออยู่ กับผู้เรียนอย่างถาวรตลอดไป ซึ่งเป็นผลที่เกิดจากการสอน ของผู้เรียนที่มีความเข้าใจที่ลึกซึ้ง(Insights)และถือว่าเป็น ความเข้าใจที่คงทน

  5. 2. การกำหนดหลักฐานแสดงถึงผลการเรียนรู้ (Determine acceptable evidence) ครูผู้สอนจะรู้ได้อย่างไรว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่กำหนดไว้ หลักฐาน วิธีการประเมิน เกณฑ์การประเมิน การแสดงออกของนักเรียนควรมีลักษณะอย่างไร จะยอมรับได้อย่างไรว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจตามที่กำหนดไว้ ที่มา: ฆนัท ธาตุทอง

  6. 3. การออกแบบกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ( plan learning experiences and instructio n) • หน่วยการเรียนรู้ใดบ้างที่ได้สอดประสานกันระหว่างขั้นที่ 1 และ 2 เข้าด้วยกัน โดยอาศัยกิจกรรมและคำถามสำคัญไปสู้ผู้เรียน • ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ให้พิจารณาแนวทางการดำเนินงานดังนี้ •  เป้าหมายอยู่ที่ไหน •  ทำไมจึงเรียนเรื่องนี้ •  ผู้เรียนเกาะติดการเรียนได้อย่างไร •  จะตรึงผู้เรียนให้ติดตามต่อไปได้อย่างไร

  7. จะช่วยให้ผู้เรียนมีความพร้อมที่จะแสวงหาความรู้เครื่องมือ วิธีการเรียนรู้เพื่อไปถึงเป้าหมายได้อย่างไร  คิดซ้ำ ๆ หรือไม่  สะท้อนความรู้อะไรบ้าง  ทบทวนความรู้เดิมมากน้อยเพียงใด  นักเรียนมีโอกาสในการประเมินตนเองและรู้ความก้าวหน้าของตนเองหรือไม่อย่างไร  คุณครูเป็นเสมือนช่างตัดเย็บเสื้อผ้า ที่ได้ออกแบบตามความต้องการ ความสนใจ ความแตกต่างในสรีระของลูกค้าแล้วหรือยัง  ผู้เรียนได้จัดระบบความรู้ ด้วยความเข้าที่ลึกซึ้งคงทน

  8. ความเข้าใจที่คงทน ( Enduring understandings) 2. สิ่งที่จำเป็นต้องรู้และจำเป็นต้องทำ 3. สิ่งที่มีคุณค่าและน่าจะรู้ • ความเข้าใจ • ที่ลุ่มลึกและยั่งยืน ที่มา: ฆนัท ธาตุทอง

  9. การกำหนดหลักฐานการเรียนรู้การกำหนดหลักฐานการเรียนรู้ ระบุหลักฐานการเรียนรู้ 1. สามารถอธิบายชี้แจงเหตุผล ระบุวิธีการประเมิน 2. การแปลความตีความ 3. การประยุกต์ กำหนดเกณฑ์การประเมินคุณภาพ (Rubric Scores) 4. การเขียนภาพที่เห็นด้วยตาจริง 5. สามารถหยั่งรู้มีความรู้สึกร่วม 6. มีองค์ความรู้เป็นของคนเอง ที่มา: ฆนัท ธาตุทอง

More Related