1 / 18

ความเป็นมาและเหตุผลในการจัดตั้งศูนย์ประเมินฯ

ศูนย์ประเมินและรับรองความรู้ความสามารถในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม Center for Medical Competency Assessment and Accreditation. เพิ่มจำนวนการผลิตแพทย์. เพิ่มจำนวนสถาบันผลิตแพทย์. ความห่วงใยคุณภาพบัณฑิตแพทย์. ข้อเสนอแนะจากการประชุมแพทยศาสตรศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 6 (พ.ศ.2536).

salim
Download Presentation

ความเป็นมาและเหตุผลในการจัดตั้งศูนย์ประเมินฯ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ศูนย์ประเมินและรับรองความรู้ความสามารถในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมCenter for Medical Competency Assessment and Accreditation แนะนำศูนย์ประเมินฯและการสอบ

  2. เพิ่มจำนวนการผลิตแพทย์เพิ่มจำนวนการผลิตแพทย์ เพิ่มจำนวนสถาบันผลิตแพทย์ ความห่วงใยคุณภาพบัณฑิตแพทย์ ข้อเสนอแนะจากการประชุมแพทยศาสตรศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 6 (พ.ศ.2536) ความเป็นมาและเหตุผลในการจัดตั้งศูนย์ประเมินฯ จำนวนแพทย์ในประเทศไม่เพียงพอ แนะนำศูนย์ประเมินฯและการสอบ

  3. ความห่วงใยคุณภาพการจัดการเรียนการสอนความห่วงใยคุณภาพการจัดการเรียนการสอน การประกันคุณภาพการจัดการศึกษา ความเป็นมาและเหตุผลในการจัดตั้งศูนย์ประเมินฯ ข้อเสนอแนะจากการประชุมแพทยศาสตรศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 6 (พ.ศ.2536) ควรดำเนินการเพื่อจัดให้มีการสอบ National Board สำหรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม สอนเพื่อให้สอบได้>สอนเพื่อให้รู้จริง เน้นคุณภาพINPUTPROCESS OUTPUT แนะนำศูนย์ประเมินฯและการสอบ

  4. ข้อเสนอแนะจากการประชุมแพทยศาสตรศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 7 (พ.ศ.2544) แพทยสภาจัดตั้งศูนย์ประเมินฯ ความเป็นมาและเหตุผลในการจัดตั้งศูนย์ประเมินฯ การประกันคุณภาพการจัดการศึกษา ผู้สำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิตจะต้องผ่านการสอบเพื่อรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม เมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ.2547 แนะนำศูนย์ประเมินฯและการสอบ

  5. อำนาจหน้าที่ของศูนย์ประเมินฯอำนาจหน้าที่ของศูนย์ประเมินฯ • ควบคุมคุณภาพของการประเมินความรู้ความสามารถของนักศึกษาระหว่างการฝึกอบรมในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต โดยประสานงานกับกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย โรงเรียนแพทย์และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • รับรองความรู้ความสามารถของบัณฑิตแพทย์ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม โดยบริหารจัดการสอบเพื่อรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา • ออกระเบียบต่างๆของศูนย์ประเมินฯ • รายงานกิจกรรมต่อแพทยสภาเป็นครั้งคราว และเป็นประจำปี • หน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการแพทยสภามอบหมาย แนะนำศูนย์ประเมินฯและการสอบ

  6. คณะกรรมการบริหารศูนย์ประเมินฯคณะกรรมการบริหารศูนย์ประเมินฯ ผู้อำนวยการศูนย์ประเมินฯ โครงสร้างการบริหารงานของศูนย์ประเมินฯ คณะกรรมการแพทยสภา แนะนำศูนย์ประเมินฯและการสอบ

  7. องค์ประกอบคณะกรรมการบริหารศูนย์ประเมินฯองค์ประกอบคณะกรรมการบริหารศูนย์ประเมินฯ • กรรมการแพทยสภา 3 คน • นพ.สมศักดิ์ โล่ห์เลยา • พญ.อนงค์ เพียรกิจกรรม • พญ.ประสบศรี อึ้งถาวร • ผู้ทรงคุณวุฒิแพทยสภา 3 คน • นพ.เฉลิม วราวิทย์ • นพ.วราวุธ สุมาวงศ์ • นพ.จรินทร์ โรจน์บวรวิทยา แนะนำศูนย์ประเมินฯและการสอบ

  8. องค์ประกอบคณะกรรมการบริหารศูนย์ประเมินฯองค์ประกอบคณะกรรมการบริหารศูนย์ประเมินฯ • ผู้แทนกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์ฯ 3 คน • นพ.อาวุธ ศรีศุกรี • พญ.พันธุ์ทิพย์ สงวนเชื้อ • พญ.สุมาลี นิมมานนิตย์ • ผู้แทนโรงเรียนแพทย์ 3 คน • พญ.นันทนา ศิริทรัพย์ • พญ.บุญมี สถาปัตยวงศ์ • นพ.ทวี เลาหพันธ์ แนะนำศูนย์ประเมินฯและการสอบ

  9. องค์ประกอบคณะกรรมการบริหารศูนย์ประเมินฯองค์ประกอบคณะกรรมการบริหารศูนย์ประเมินฯ • ประธานอนุกรรมการ 3 คน • นพ.พิศาล ไม้เรียง (ประธานฯ จัดหาข้อสอบ) • นพ.อานุภาพ เลขะกุล (ประธานฯ พัฒนาข้อสอบ) • นพ.อนันต์ ศรีเกียรติขจร (ประธานฯ จัดการสอบ) • ผู้อำนวยการศูนย์ประเมินฯ 1 คน • นพ.เอื้อพงศ์ จตุรธำรง แนะนำศูนย์ประเมินฯและการสอบ

  10. ขั้นตอนการสอบเพื่อประเมินความรู้ความสามารถฯขั้นตอนการสอบเพื่อประเมินความรู้ความสามารถฯ แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน แต่ละขั้นตอนประเมินสิ่งต่อไปนี้ • ขั้นตอนที่หนึ่ง - ความรู้ความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน • ขั้นตอนที่สอง - ความรู้ความสามารถทางด้านวิทยาศาตร์การแพทย์คลินิก • ขั้นตอนที่สาม - ทักษะและหัตถการทางคลินิก ถ้าสอบผ่านแต่ละขั้นตอน ผลการสอบมีอายุ 7 ปี แนะนำศูนย์ประเมินฯและการสอบ

  11. ขอบเขตของเนื้อหาการสอบแต่ละขั้นตอนขอบเขตของเนื้อหาการสอบแต่ละขั้นตอน • ขั้นตอนที่หนึ่ง - ฉบับ พ.ศ.2545 (เพิ่มเติม) ภาคผนวกที่ 3 ความรู้ฯ วิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน • ขั้นตอนที่สอง - ฉบับ พ.ศ.2545 ภาคผนวกที่ 2 ความรู้ฯ วิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก • ขั้นตอนที่สาม - ฉบับ พ.ศ.2545 ภาคผนวกที่ 2 ทักษะและหัตถการทางคลินิก การสอบแต่ละขั้นตอน อิงตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ของแพทยสภา ดังนี้ แต่ละขั้นตอนจะมีเนื้อหาเกี่ยวกับจริยธรรม และกฎหมายทางการแพทย์ด้วย แนะนำศูนย์ประเมินฯและการสอบ

  12. คุณสมบัติผู้มีสิทธิ์สอบแต่ละขั้นตอนคุณสมบัติผู้มีสิทธิ์สอบแต่ละขั้นตอน สำหรับผู้ที่กำลังศึกษา • ขั้นตอนที่หนึ่ง - ศึกษาระดับปรีคลินิกมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี • ขั้นตอนที่สอง - ศึกษาระดับคลินิกมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี • ขั้นตอนที่สาม - ศึกษาระดับคลินิกมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ภาคการศึกษา แนะนำศูนย์ประเมินฯและการสอบ

  13. กำหนดการสอบแต่ละขั้นตอนกำหนดการสอบแต่ละขั้นตอน เริ่มจัดสอบให้นักศึกษาแพทย์ที่เข้าศึกษาในปีการศึกษา 2546 • ขั้นตอนที่หนึ่ง - ต้นปี พ.ศ.2549 • ขั้นตอนที่สอง - ต้นปี พ.ศ.2551 • ขั้นตอนที่สาม - กลางปีพ.ศ.2551 ศูนย์ประเมินฯ จะขอความร่วมมือจากโรงเรียนแพทย์ ทดสอบระบบการจัดสอบขั้นตอนต่างๆ นักศึกษาแพทย์ที่เข้าศึกษาในปีการศึกษา 2545 เข้าสอบเพื่อทดลองระบบการจัดสอบขั้นตอนที่หนึ่ง ประมาณเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2548 แนะนำศูนย์ประเมินฯและการสอบ

  14. การสอบขั้นตอนที่หนึ่ง : ลักษณะข้อสอบ • Multiple choice question • One best response • 4 - 5 ตัวเลือก • ใช้ภาษาไทยปนอังกฤษ • ข้อสอบส่วนใหญ่จะเน้นความรู้ทางปรีคลินิกที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้ในระดับคลินิก • หากเป็นโจทย์ปัญหาผู้ป่วย จะเป็นโรคหรือปัญหาที่พบบ่อยหรือที่สำคัญ และไม่สลับซับซ้อน • โจทย์ปัญหาจะโยงไปสู่คำถามเกี่ยวกับความรู้ของ basic science แนะนำศูนย์ประเมินฯและการสอบ

  15. การสอบขั้นตอนที่หนึ่ง : เนื้อหาข้อสอบ • อิงตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ของแพทยสภา พ.ศ.2545 (เพิ่มเติม) ภาคผนวกที่ 3 ความรู้ความ สามารถทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน • เนื้อหาเกี่ยวกับจริยธรรมและกฎหมายทางการแพทย์ แนะนำศูนย์ประเมินฯและการสอบ

  16. อนุกรรมการจัดหาข้อสอบอนุกรรมการจัดหาข้อสอบ อนุกรรมการพัฒนาข้อสอบ อนุกรรมการเฉพาะกิจคัดเลือกข้อสอบ ศูนย์ประเมินฯ ทำต้นฉบับ สำเนา บรรจุข้อสอบ อนุกรรมการจัดการสอบ การสอบขั้นตอนที่หนึ่ง : ที่มาของข้อสอบ คณาจารย์โรงเรียนแพทย์ แนะนำศูนย์ประเมินฯและการสอบ

  17. ความสำคัญของคณาจารย์โรงเรียนแพทย์ต่อการสอบความสำคัญของคณาจารย์โรงเรียนแพทย์ต่อการสอบ • เป็นแหล่งของข้อสอบที่ดี • เป็นผู้มีบทบาทสำคัญต่อความยุติธรรมและความโปร่งใสของการสอบ (รักษาความลับ และมารยาทของผู้ออกข้อสอบ) • เป็นผู้มีบทบาทสำคัญต่อการปรับปรุงคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผล แนะนำศูนย์ประเมินฯและการสอบ

  18. บทสรุป การสอบเพื่อรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรมจะบรรลุจุดมุ่งหมายได้ ก็ด้วยความร่วมมือร่วมใจของคณาจารย์ทุกท่าน • ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร • ปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนและการประเมินผล • ช่วยเหลือศูนย์ประเมินฯ ในการออกข้อสอบที่ดี • ช่วยกันรักษาระบบการสอบของศูนย์ประเมินฯ ให้ โปร่งใสยุติธรรม เพื่อให้ความมั่นใจแก่สังคมว่าบัณฑิตแพทย์ทุกคนที่ได้รับใบอนุญาตฯเป็นผู้มีความรู้ความสามารถจริง แนะนำศูนย์ประเมินฯและการสอบ

More Related