422 likes | 2.48k Views
หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรค. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองสนิท. สมาชิกทีม : 1. นางอำไพ มีสิทธิ์ ประธานกรรม 2. นางสุนีย์ ศรีทอง กรรมการ 3. นางรจนา สีวันทา กรรมการ 4. นางสุกัญญา จินดาศรี กรรมการ
E N D
หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองสนิท
สมาชิกทีม : 1. นางอำไพ มีสิทธิ์ประธานกรรม 2. นางสุนีย์ ศรีทอง กรรมการ 3. นางรจนา สีวันทา กรรมการ 4. นางสุกัญญา จินดาศรี กรรมการ 5. นายสมยศ อยู่นาน กรรมการและเลขานุการ
บ้านโนนงิ้ว หมู่ที่ 4 ต.หนองสนิท อ.จอมพระ พื้นที่ มีเนื้อที่ทั้งหมด 4,023 ไร่ อ.ท่าตูม อ.สนม ต.ลุ่มระวี ต.ผือ ต.จอมพระ แผนที่บ้านหนองสนิท ตำบลหนองสนิท
ห่างจากจังหวัด 46 กิโลเมตร • ห่างจากอำเภอ 14 กิโลเมตร • จำนวนหลังคาเรือน 163 หลัง • จำนวนประชากร • ชาย 410 คน หญิง 379 คน • รวมทั้งสิ้น 789 คน
ปัญหาและสาเหตุ ปัจจุบันคนไทยมีแนวโน้มการเจ็บป่วยและเสียชีวิตจากโรค ที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง และวิถีในการดำเนินชีวิต เช่น โรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งโรคดังกล่าวสามารถควบคุมและ ป้องกันได้ โดยที่ประชาชนต้องใส่ใจดูแลตนเอง ด้วยการมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง ควบคู่ไปกับการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เพื่อหวังให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
บทบาทของ 5 องค์กรระดับท้องถิ่น / ตำบลในการพัฒนา สุขภาพของประชาชน อปท รพสต อสม ผู้นำชุมชน กองทุนฯตำบล
การพัฒนาสมรรถนะของแผนงานสุขภาพด้วยค่ากลางการพัฒนาสมรรถนะของแผนงานสุขภาพด้วยค่ากลาง ทุก1 - 2ปี ทุก 3 เดือน
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์พัฒนาสุขภาพบ้านโนนงิ้ว ปี 53 -57 เป้าประสงค์ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพเหมาะสม กลยุทธ์ 1 พัฒนาองค์ความรู้ กลยุทธ์ 2 สร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลยุทธ์ ประชาชนมีระบบเฝ้าระวัง ย 1 ย 3 เป้าประสงค์ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดทำแผน กลยุทธ์ 1 จัดเวทีประชาคม กลยุทธ์ 2 การติดตามประเมินผล ย 3 เป้าประสงค์ชุมชนเข็มแข็ง กลยุทธ์ 1 จัดสร้างเสริมสัมพันธภาพที่ดีในกลุ่มเยาวชน กลยุทธ์ 2 จัดให้มีกฏระเบียบข้อบังคับของหมู่บ้าน ย 5 4 เป้าประสงค์ประชาชนมีระบบเฝ้าระวัง กลยุทธ์ 1 จัดระบบเฝ้าระวังที่ดี ย 4 ย 5 ประชาชน เป้าประสงค์ชมรมสร้างสุขภาพเข็มแข็ง กลยุทธ์ 1 พัฒนาศักยภาพ (2) กลยุทธ์ 2 จัดเผยนแพร่ผลงานชมรมสร้างสุขภาพ กลยุทธ์ 3 ส่งเสริมการหารายได้ให้กับสมาชิก ( 5) เป้าประสงค์ภาครัฐให้สนับสนุนด้านวิชากา ร กลยุทธ์ 1 ประสานขอความร่วมมือ (3) กลยุทธ์ 2 บูรณาการกิจกรรมร่วมกัน(5) กลยุทธ์ 3 สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างหน่วยงาน เป้าประสงค์อปท, ให้ความสำคัญด้านงบประมาณ / มาตรการ กลยุทธ์ 1 สนับสนุนให้มีข้อบังคับด้านสุขภาพ (4) กลยุทธ์ 2 ติดตามความก้าวหน้า กลยุทธ์ 3 จัดตั้งศูนย์ประสานงาน ภาคี เป้าประสงค์ระบบการติดตามประเมินแบบมีส่วนร่วม กลยุทธ์ 1 ส่งเสริมให้มีการติดตามประเมินผลแบบมีส่วนร่วมอย่างต่อเนื่อง(3, 5) กลยุทธ์ 2 ประสานขอความร่วมมือ (5) เป้าประสงค์การบริหารการจัดการที่ดี กลยุทธ์ 1 ใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ในการจัดทำแผน (3) กลยุทธ์ 2 ระดมทุน (2) เป้าประสงค์การจัดการองค์ความรู้ กลยุทธ์ 1 ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้( 2 3 4) กลยุทธ์ 2 จัดการฝึกอบร,ม เป้าประสงค์ระบบสื่อสารที่ดี กลยุทธ์ 1 จัดหาสารสนเทศที่ถูกต้อง และทันสมัย 3 4 กลยุทธ์ 2 พัฒนารูปแบบการสื่อสาร 3 กระบวนการ เป้าประสงค์ระบบข้อมูลได้มาตรฐาน กลยุทธ์ 1 พัฒนาข้อมูลให้ได้มาตรฐาน (3) กลยุทธ์ 2 จัดให้มีวัสดุอุปกรณ์ที่ทันสมัย (4) เป้าประสงค์องค์กรมีวัฒนธรรมที่ดี กลยุทธ์ 1 ปลูกจิตสำนึก (1) กลยุทธ์ 2 สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ดีร่วมกัน (5) กลยุทธ์ 3 จัดให้มีแรงจูงใจในการทำงาน เป้าประสงค์คณะกรรมการมีศักยภาพ กลยุทธ์ 1 พัฒนาศักยภาพของบุคลากร (2) รากฐาน
แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ พัฒนาสุขภาพ บ้านโนนงิ้ว ปี 2554-55 ปส.มีพฤติกรรมที่เหมาะสม - สร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ปส.ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดทำแผน - จัดเวทีประชาคม ปส.ชุมชนเข็มแข็ง - สร้างเสริมสัมพันธภาพที่ดี ปส.ระบบเฝ้าระวัง - จัดระบบเฝ้าระวังโรคอย่างมีระสิทธิภาพ ปส.ชมรมสร้างสุขภาพเข็มแข็ง - ศักยภาพของชมรม ปส. ภาครัฐให้การสนับสนุนด้านวิชาการ -บูรณาการร่วมกัน ปส. อปท. ให้ความสำคัญด้านงบประมาณ/มาตรการ - สนับสนุนให้มีข้อบังคับด้านสุขภาพ ปส.ระบบสื่อสารที่ดี _- ข้อมูลสารสนเทศที่ทันสมัย ปส.การจัดการองค์ความรู้ - ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปส.การบริหารจัดการที่ดี - ใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ ปส.องค์กรมีวัฒนธรรมที่ดีร่วมกัน -สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ดีร่วมกัน ปส. ระบบข้อมูลได้มาตรฐาน - พัฒนาข้อมูลให้ได้มาตรฐาน ปส.คณะกรรมการมีศักยภาพ - พัฒนาศักยภาพของบุคลากร
แผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ Mini-SLM บ้านโนนงิ้ว แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ พัฒนาสุขภาพ ปี 2555 ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ประชา ชน ชุมชนมีข้อตกลงร่วมกัน ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนชุมชน การปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดในชุมชน ภาคี การบูรณาการแผนงาน/โครงการในตำบลพร้อมข้อตกลงร่วมกัน ข้อตกลงร่วมกัน ในชมรมสร้างสุขภาพ แผนงานโครงการได้รับการจัดสรรงบประมาณและมาตรการมีผลบังคับใช้ กระบวนการ การประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อชุมชนอย่างทั่วถึง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน การนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ มาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ราก ฐาน การนำข้อมูลมาวิเคราะห์แก้ไขปัญหาในหมู่บ้าน องค์กรมีเอกภาพและทำงานเป็นทีม บุคลากรมีสมมรรถนะในหน้าที่รับผิดชอบ
การเปลี่ยนแปลง: กระบวนการพัฒนา 1.มีการจัดตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงานหลักระดับหมู่บ้าน 2. การจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์หมู่บ้านต้นแบบลดโรค 3. สำรวจ/ศึกษาบริบทสถานการณ์ปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม 4. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านสุขภาพเช่นจัดเวทีประชาคม จัดประชุม/อบรม จัดนิทรรศการประกวดเมนูสุขภาพ 5. การออกกำลังกาย ปลูกผักปลอดสารพิษหรือจำหน่ายผักปลอดสารพิษ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของหมู่บ้าน/ชุมชน
6. ชมรมสร้างสุขภาพจัดกิจกรรมกระตุ้นให้ประชาชนในหมู่บ้านมีการ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3 วันวันละอย่างน้อย 30 นาที กินผักผลไม้สด วันละอย่างน้อย 5 ขีด ขึ้นไป(ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน7.เฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนด้านการออกกำลังกายกินผัก ผลไม้สด และอาหารไขมัน
8.กำหนดข้อตกลงร่วมกันของหมู่บ้านโดยการมีส่วนร่วม8.กำหนดข้อตกลงร่วมกันของหมู่บ้านโดยการมีส่วนร่วม ของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องโดยครอบคลุม ทั้งกิจกรรมการเสริมสร้างความรู้และทักษะ ในการออกกำลังกายกินผัก ผลไม้สดปลอดสารพิษ และลดอาหารไขมันที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ผลของการเปลี่ยนแปลง จากการสำรวจประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง บ้านโนนงิ้ว หมู่ที่ 4 (จำนวน 155 คน) ปี 2554 พบว่า - มีน้ำหนักเกิน/อ้วน/อ้วนลงพุง 62 คน - กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน 25 คน - กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง 97 คน - กลุ่มเสี่ยงต่อหัวใจขาดเลือด 6 คน - กลุ่มเสี่ยงต่อหลอดเลือดสมอง 11 คน (หมายเหตุ บางคนเสี่ยงมากกว่า 1 ประเภท)
จากการดำเนินงานตามขั้นตอนหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคลดเสี่ยง พบว่า กลุ่มน้ำหนักเกิน/อ้วน/อ้วนลงพุง มีรอบเอวลด 48 คน ร้อยละ 77.41 กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานมีค่าน้ำตาลในเลือดลดลง 23 คน ร้อยละ 92 กลุ่มเสี่ยงต่อความดันโลหิตสูงมีค่าความดันโลหิตลดลง 85 ร้อยละ 87.62 ( ลดเสี่ยง จำนวน 132 คน คิดเป็นร้อยละ 85.16 คน)
บทเรียนที่ได้รับ จากการพัฒนาหมู่บ้านต้นแบบลดเสี่ยงลดโรคใน ปี 2554 พบว่า ประชาชนในชุมชน/หมู่บ้านโนนงิ้ว มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สู่การสุขภาพดีโดยร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องช่วยกันแก้ไขปัญหา สุขภาพของประชาชนได้อย่างแท้จริง โดยยึดหลัก “ร่วมคิด ร่วมทำ ตัดสินใจร่วมกัน ร่วมเรียนรู้ และร่วมรับผิดชอบจากที่คิดร่วมกัน “ สู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างยั่งยืน
แผนที่จะดำเนินการต่อ 1.การพัฒนางานอย่างต่อเนื่องโดยชุมชน/หมู่บ้านเป็นเจ้าภาพหลัก 2. การขยายผลเผยแพร่การดำเนินสู่พื้นที่หรือหมู่บ้านอื่น ๆ 3. การพัฒนาหมู่บ้านเป็นแหล่งแลกเปลี่ยนเรียนต้นแบบของอำเภอ จังหวัด
หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
หมู่บ้านปลูกข้าวเกษตรอินทรีย์(ทั้งหมู่) หมู่บ้านปลูกข้าวเกษตรอินทรีย์(ทั้งหมู่) - ปลูกข้าวเกษตรอินทรีย์ ผ่านมาตรฐาน มกท. 685 ไร่ 21 ครอบครัว มกอช. 750 ไร่ 16 ครอบครัว GAP ข้าว 1,120 ไร่ 137 ครอบครัว
ลักษณะเด่นของโครงการ • 1. มีการทำนาเกษตรอินทรีย์ทั้งหมู่บ้าน • และผ่านมาตรฐาน ร้อยละ 90 • 2. มีบุคลากรที่เชี่ยวชาญเกษตรอินทรีย์ • 3.เป็นพื้นที่ศึกษาดูงาน เรียนรู้จากภายใน • และภายนอกจังหวัด
หมู่บ้านน่าอยู่ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
มาตรการทางสังคมของชุมชนมาตรการทางสังคมของชุมชน