1 / 40

การขับเคลื่อนพลังชุมชน

การขับเคลื่อนพลังชุมชน. นางชูสม รัตนนิตย์ ผู้ตรวจราชการกรม. วันที่ 24 กรกฎาคม 2556 ณ โรงแรมสุนีย์แกรนด์ โฮเทล แอน คอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ จังหวัดอุบลราชธานี. ประเด็นอภิปราย. 1 แนวคิด นโยบาย ยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน. 3.

Download Presentation

การขับเคลื่อนพลังชุมชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การขับเคลื่อนพลังชุมชนการขับเคลื่อนพลังชุมชน นางชูสม รัตนนิตย์ ผู้ตรวจราชการกรม วันที่ 24 กรกฎาคม 2556 ณ โรงแรมสุนีย์แกรนด์ โฮเทล แอน คอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ จังหวัดอุบลราชธานี

  2. ประเด็นอภิปราย สำนักตรวจราชการ

  3. 1 แนวคิด นโยบาย ยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน 3

  4. การพัฒนาบนหลักการของการพึ่งพาตนเอง(help them To help themselves) ภารกิจกรมการพัฒนาชุมชน สำนักตรวจราชการ 4

  5. ภารกิจกรมการพัฒนาชุมชนภารกิจกรมการพัฒนาชุมชน • การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมของประชาชน • ส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากให้มีความมั่นคงมีเสถียรภาพ • สนับสนุนให้มีการจัดทำและใช้ประโยชน์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชนบท • ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาชุมชน สำนักตรวจราชการ 5

  6. ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ.2555-2559 วิสัยทัศน์ : ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง เป้าหมาย ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง 5. การเสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง พันธกิจ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม และการเรียนรู้ พัฒนาระบบบริหารจัดการชุมชน พัฒนาระบบเศรษฐกิจชุมชน 1. สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข 4. เสริมสร้าง ธรรมาภิบาลและความมั่นคงของ ทุนชุมชน 2. เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน 3. ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สำนักตรวจราชการ 6

  7. ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ.2555-2559 สำนักตรวจราชการ 7

  8. ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง ผลผลิตที่ ๑ เสริมสร้างขีดความสามารถของพลังชุมชนในการจัดการและแก้ไขปัญหาของชุมชน ผลผลิตที่ ๒ ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้มีความมั่นคง เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทุนชุมชน การพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ ส่งเสริมและพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชนแบบบูรณาการ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการผลิตภัณฑ์ชุมชน 1. พัฒนาศักยภาพผู้นำชุมชน จำนวน 10,500คน 2. สนับสนุนแผนชุมชนบรรจุในแผนท้องถิ่น 28,500แผนชุมชน 3. ศูนย์เรียนรู้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ 904แห่ง - เก็บ ข้อมูล จปฐ. 8,400,000 ครัวเรือน - เก็บข้อมูล กชช.2ค 71,000 หมู่บ้าน - พัฒนาครัวเรือนยากจนที่ตกเกณฑ์ จปฐ. ๒๓,๐๐๐ ครัวเรือน - ชี้เป้าชีวิต - จัดทำเข็มทิศชีวิต - บริหารจัดการชีวิต - ดูแลชีวิต พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการทุนชุมชน 5,000กองทุน ให้สามารถบริการเงินทุนในการประกอบอาชีพ จัดสวัสดิการชุมชน และแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ - การเพิ่มช่องทางการตลาด - OTOP Midyear - OTOP City - เพิ่มประสิทธิภาพกลุ่มอาชีพด้านการบริหารจัดการ การผลิต การตลาด และการจัดการทุน - OTOP สานสัมพันธ์สองแผ่นดิน - OTOP ภูมิภาค - OTOP เชิงรุก ได้แก่ OTOP Network Matching, OTOP Mobile to the Factory and Festival, OTOP to The department Store. - หมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว 1. ขยายผลหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง 878หมู่บ้าน 2. รักษาสภาพหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง เดิม3,671หมู่บ้าน กิจกรรมการดำเนินงานตามผลผลิต ปี 2556 สำนักตรวจราชการ 8

  9. 2 การเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน 9

  10. แบบจำลองชุมชนที่บริหารจัดการที่ดีแบบจำลองชุมชนที่บริหารจัดการที่ดี สำนักตรวจราชการ

  11. กระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนกระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน สำนักตรวจราชการ

  12. กระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน กระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน การปล่อยให้ชุมชนคิด และตัดสินใจด้วยตนเอง สำนักตรวจราชการ

  13. ทำให้ชุมชนเป็นที่น่าไว้วางใจให้มากที่สุด แล้วปล่อยให้ชุมชนทำงาน สำนักตรวจราชการ

  14. 1. แบ่งปันข้อมูล2. สร้างความอิสระด้วยการกำหนดความรับผิดชอบที่ชัดเจน3. พัฒนาการทำงานเป็นทีมแทนการบังคับบัญชา กุญแจ 3 ดอกเพื่อการปลดปล่อยพลังชุมชน สำนักตรวจราชการ

  15. กระบวนการชุมชน การวิเคราะห์ชุมชน การเรียนรู้และการตัดสินใจของชุมชน การวางแผนชุมชน การดำเนินกิจกรรมของชุมชน การประเมินผลการดำเนินงานของชุมชน

  16. แนวทางการจัดทำแผนชุมชนแนวทางการจัดทำแผนชุมชน สำนักตรวจราชการ

  17. แนวทางการจัดทำแผนชุมชนแนวทางการจัดทำแผนชุมชน ชุมชนสามารถทำอะไรด้วยตนเองและเพื่อตนเองได้บ้างโดยไม่ต้องอาศัยภายนอก ประเภทของแผน ชุมชนสามารถทำอะไรด้วยตนเองและเพื่อตนเองได้บ้างถ้าได้รับความช่วยเหลือจากภายนอก ประเด็นที่เป็นแผน กระบวนการทำแผน ชุมชนไม่สามารถทำอะไรที่มีความสำคัญต่อความอยู่ดีมีสุขและบรรลุทิศทางการพัฒนาของชุมชนด้วยตนเองและเพื่อตนเองได้บ้าง สำนักตรวจราชการ

  18. แผนชุมชนที่มีพลัง แผนชุมชน สำนักตรวจราชการ

  19. คนมีความรู้ คนมีสุขภาพดี คนมีอาชีพ-รายได้ คนมีศักดิ์ศรี มีสังคม คนได้รับการพัฒนา ร่วมเรียนรู้ คนริเริ่มและร่วมกันพัฒนา คนร่วมรับผิดชอบกิจกรรมชุมชน คนมีแผนแก้ปัญหา/พัฒนาตนเอง คนทุกกลุ่มมีโอกาส มีบทบาท ร่วมติดตาม ประเมินผล ร่วมตัดสินใจ คนทำการพัฒนา กระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน ร่วมรับประโยชน์ ร่วมดำเนินงาน กิจกรรมพัฒนาสนองความต้องการของคนในชุมชน ท้องถิ่น/รัฐยอมรับ/สนับสนุนการมีส่วนร่วมของคน การบริการพื้นฐานทั่วถึงเท่าเทียม ท้องถิ่น/รัฐรับผิดชอบต่อคน โปร่งใส ตรวจสอบได้ การพัฒนาเพื่อคน เอกลักษณ์ของการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน สำนักตรวจราชการ

  20. 3 การพัฒนาชุมชนโดยการส่งเสริม กระบวนการเรียนรู้ การพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น และวิสาหกิจชุมชน 20

  21. 1 • หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ OTOP สำนักตรวจราชการ

  22. 2 • การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ภารกิจกรมการพัฒนาชุมชน การเสริมสร้างความเข้มแข็งของหมู่บ้าน/ชุมชน การพัฒนากลไกแกนนำในพื้นที่ เช่น กลุ่มอาสาสมัคร เสริมสร้างความเข้มแข็งกองทุนแม่ของแผ่นดิน สำนักตรวจราชการ

  23. 3 • กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนแบบดอกเบี้ยต่ำหรือปลอดดอกเบี้ย ในการพัฒนาอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ เพื่อการพัฒนาไปสู่การสร้างสวัสดิภาพ และสวัสดิการให้แก่สตรี รวมถึงการพัฒนาศักยภาพสตรีและเครือข่ายสตรี การพัฒนาบทบาทสตรี การสร้างภาวะผู้นำ และการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน เป็นผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ สำนักตรวจราชการ

  24. หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง 24

  25. สำนักตรวจราชการ

  26. กระบวนการทำงานแบบบูรณาการ ABC บ/ช รับจ่าย ชุมชนทำเอง จปฐ กชช 2 ค ศรช. วิเคราะห์ข้อมูล ทุกหน่วยงาน จัดการความรู้ บูรณาการแผน ประเมิน วางแผน ประเมิน กิจกรรมตามแผน 6 ด้าน 12 ชี้วัด ต้นแบบ 4 ด้าน 23 ชี้วัด GVH 6 ด้าน 22 ชี้วัด จปฐ /กชช /มชช. บูรณาการเงินทุน มีองค์กรบริหารจัดการ ผู้นำ อช. แหล่งสนับสนุน ในชุมชน ศอช. กรรมการกลุ่ม สำนักตรวจราชการ

  27. Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ขั้นที่ 4 ยกย่องเชิดชูเกียรติ หมู่บ้าน/ชุมชน/ประชาชนมีวิถีชีวิตความพอเพียงและมีความสุข ดัชนีชี้วัดความสุขมวลรวม บูรณาการในทุกระดับ การยกย่องเชิดชูเกียรติ การรักษาและขยายผลหมู่บ้าน/ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ขั้นที่ 3 รักษาและ พัฒนา ขยายผล เกณฑ์ของกระทรวงมท. (4 ด้าน 23 ตัวชี้วัด) การประกาศหมู่บ้าน/ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ บูรณาการในระดับพื้นที่ อำเภอ/จังหวัด การประเมินหมู่บ้าน/ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ พัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียงเป้าหมาย ขั้นที่ 2คัดเลือกเป้าหมาย ประกาศหมู่บ้าน/ชุมชน(“พออยู่ พอกิน” “อยู่ดี กินดี” “มั่งมี ศรีสุข”) คณะกรรมการระดับอำเภอ/จังหวัด การประเมิน/คัดเลือก หมู่บ้านที่เข้าเกณฑ์การพัฒนา หลักเกณฑ์ของ สำนักงาน กปร. หมู่บ้าน/ชุมชน ที่สามารถยกระดับเป็นแหล่งเรียนรู้ ขั้นที่ 1 การประเมิน แยกประเภท หมู่บ้าน/ชุมชน ที่ได้รับการส่งเสริมวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง หลักเกณฑ์ศูนย์เรียนรู้ชุมชน หมู่บ้าน/ชุมชนเข้าสู่การพัฒนา เกณฑ์ชี้วัด 6X 2 สำนักตรวจราชการ

  28. 20. มีจิตสำนึกของการอนุรักษ์ฯ • 21. มีกลุ่ม/องค์กรด้านสิ่งแวดล้อม • 22. มีการใช้พลังงานทดแทน • 23. มีการสร้างมูลค่าเพิ่มจาก ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เกณฑ์การประเมินหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ 4 ด้าน 23 ตัวชี้วัด จิตใจและสังคม ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • 1. มีความสามัคคีและ ความร่วมมือ • 2. มีข้อปฏิบัติของหมู่บ้าน • 3. มีกองทุนสวัสดิการแก่สมาชิก • 4. ยึดมั่นหลักการประชาธิปไตย • 5. มีคุณธรรม/จริยธรรม • 6..ปลอดอบายมุข • 7. เชื่อมั่นปรัชญา ศก.พพ. เศรษฐกิจ การเรียนรู้ • 13. มีข้อมูลของชุมชน • 14 ใช้ข้อมูลและแผนชุมชน • 15. ค้นหาและใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น • 16. จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ในชุมชน • 17. ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม • 18. สร้างเครือข่ายภาคีการพัฒนา • 19. ปฏิบัติตามหลักการพึ่งตนเอง • 8. จัดทำบัญชีครัวเรือน • 9. ลดรายจ่ายและสร้างรายได้ • 10 รวมกลุ่มพัฒนาอาชีพหลัก • 11 มีกิจกรรมการออมที่หลากหลาย • 12. มีวิสาหกิจชุมชน สำนักตรวจราชการ

  29. ขยายผล หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ (เฉลี่ยอำเภอละ 1 หมู่บ้าน) เรียนรู้ตนเอง/กำหนดการพัฒนาคุณภาพชีวิต/ประเมินความสุขมวลรวม (GVH) ครั้งที่ 1 ส่งเสริม ครอบครัวพัฒนา 2 1 กิจกรรมการ พัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง สาธิตกิจกรรมดำรงชีวิตแบบพอเพียง 5 จัดการความรู้/ประเมินความสุขมวลรวม (GVH) ครั้งที่ 2 3 4 สร้างระบบการบริหารจัดการชุมชน สำนักตรวจราชการ

  30. 4 พัฒนากรคนสำคัญขององค์กร 30

  31. คุณลักษณะของนักพัฒนาที่พึงประสงค์คุณลักษณะของนักพัฒนาที่พึงประสงค์ • ลักษณะงานของนักพัฒนา คือ • ริเริ่มและพัฒนากระบวนการทางสังคมในชุมชนเป้าหมาย • ส่งเสริมการร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาชุมชนและร่วมการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน • ขับเคลื่อนชุมชนให้มีชีวิตชีวา รวมทั้งการทำให้กระบวนการดังกล่าวมีความยั่งยืนและจัดการ โดยชุมชนเอง สำนักตรวจราชการ

  32. คุณลักษณะของนักพัฒนาที่พึงประสงค์คุณลักษณะของนักพัฒนาที่พึงประสงค์ ต้องมีความเชื่อในตัวประชาชน ต้องยึดมั่นในหลักการที่จะทำหน้าที่เอื้ออำนวย ให้กับการทำงานของประชาชน ไม่ใช่นำประชาชน ต้องมีความรู้ความเข้าใจเป็นอย่างดีเกี่ยวกับหลักการและทักษะในการสร้างพลังและความกระตือรือร้นทางสังคม ต้องหมั่นเรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการทำงานเพื่อปลดปล่อยพลังของประชาชนและชุมชน สำนักตรวจราชการ

  33. เครื่องมือเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนเครื่องมือเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ความรู้ของนักพัฒนา ได้แก่ การปฏิบัติการจิตวิทยาชุมชน การรับฟังและถ่ายทอดข้อมูล รวมทั้งโน้มน้าวชักจูงผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ เครื่องมือประเมินสถานการณ์ชนบทแบบมีส่วนร่วม การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม การรณรงค์ทางสังคม สำนักตรวจราชการ

  34. ขอบคุณค่ะ สำนักตรวจราชการ 34

  35. สำนักตรวจราชการ โทร. 0 2141 6399 โทร. 0 9040 6226 สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน (สสช.) โทร. 0 2141 6105 โทร. 0 2141 6157 โทรสาร0 2143 8912 http://www.chumchon.cdd.go.th สำนักตรวจราชการ

  36. สำนักตรวจราชการ

  37. โครงสร้างอัตรากำลัง ณ 30 ก.ย.2555 โครงสร้างกรมการพัฒนาชุมชน (7,000 อัตรา) - ลูกจ้างประจำ 184 อัตรา - พนักงานราชการ 69 อัตรา อธิบดี (1) รองอธิบดี (3) ผู้ตรวจราชการกรม (12) ส่วนกลาง (593) ส่วนภูมิภาค (6,407) สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด (76 จังหวัด) กลุ่มตำแหน่งที่ปฏิบัติงาน ศอ.บต. (16) กองแผนงาน (45) สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ (878 อำเภอ) ศูนย์สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน (39) กลุ่มตรวจสอบภายใน (6) ส่วนราชการภายใน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร (9) สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน (55) สำนักงานเลขานุการกรม (38) สำนักตรวจราชการ (19) สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน (42) กองคลัง (46) กองประชาสัมพันธ์ (15) สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน (45) กองการเจ้าหน้าที่ (42) ศูนย์ประสานราชการจังหวัดชายแดนภาคใต้ (6) สถาบันการพัฒนาชุมชน (194) กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม (4) สำนักตรวจราชการ 37

  38. งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2556 งบประมาณ 4,468,656,900 บาท • งบลงทุน • 50,096,000 บาท • ( 1.12 %) • รถยนต์ • คอมพิวเตอร์ /เครื่องถ่ายเอกสาร • ปรับปรุงอาคาร/บ้านพัก งบ ดำเนิน งาน งบบุคลากร • งบดำเนินงาน • 2,201,239,400 บาท • ( 49.25 %) • ค่าใช้จ่ายในการบริหาร • ค่าสาธารณูปโภค • ค่าใช้จ่ายตามผลผลิต • งบบุคลากร • 2,217,321,500 บาท • (49.61%) • เงินเดือน 7,000 อัตรา • ค่าจ้างประจำ 184 อัตรา • ค่าตอบแทนพนักงานราชการ 69 อัตรา สำนักตรวจราชการ 38

  39. การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 2 เป้าหมายชุมชนเข้มแข็ง ตำบลสีขาวปลอดยาเสพติด กิจกรรม แนวทางการดำเนินงาน กองทุนแม่ของแผ่นดิน • ตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน • ต้นกล้ากองทุนแม่ของแผ่นดิน • - ศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอำเภอ /จังหวัด หมู่บ้านเป้าหมายตามข้อมูล ป.ป.ส./มท - ตรวจสอบความถูกต้องของการสำรวจเพื่อจำแนกสถานะของหมู่บ้าน/ชุมชน เข้มแข็งเอาชนะยาเสพติด พัฒนาศักยภาพผู้นำชุมชน • พัฒนากลไกแกนนำในพื้นที่ - สอดแทรกเนื้อหาเข้าในหลักสูตรต่างๆ • ดำเนินกิจกรรมพัฒนาต่างๆ เพื่อเฝ้าระวังและมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงปลอดยาเสพติด ขับคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงให้ปลอดยาเสพติด 4,549 หมู่บ้าน แผนชุมชน - ส่งเสริมให้แผนชุมชนมีโครงการ/กิจกรรมด้านยาเสพติดและนำแผนไปใช้ประโยชน์โดยชุมชนดำเนินการเอง ศูนย์เรียนรู้ชุมชน -ส่งเสริมการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้ชุมชนป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน 39 สำนักตรวจราชการ

  40. 3 • กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี • ผลการดำเนินงาน • ประชาสัมพันธ์เพื่อการลงทะเบียนเป็นสมาชิกกองทุน • การคัดเลือกกรรมการฯระดับตำบล/จังหวัด/กทม. • การโอนเงินกองทุนฯ แก่ทุกจังหวัด • คำสั่งคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ ที่ 1-3 / 2555 ลงวันที่ 1 ตุลาคม 2555 แต่งตั้งคณะกรรมการ ประกอบด้วย • 1) คณะกรรมการบริหารกองทุน • 2) คณะกรรมการประเมินผล • 3) คณะอนุกรรมการดำเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี สำนักตรวจราชการ

More Related