180 likes | 439 Views
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจการเงินของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ พ.ศ. 2325 – ปัจจุบัน (ค.ศ. 1782 – ปัจจุบัน). รากฐาน และความเป็นจริงที่ชนรุ่นหลังต้องนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์. รวบรวมและวิเคราะห์โดย ดร. โอฬาร ไชยประวัติ และทีมนักวิจัย ของสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง.
E N D
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจการเงินของไทยสมัยรัตนโกสินทร์พ.ศ. 2325– ปัจจุบัน (ค.ศ. 1782– ปัจจุบัน) รากฐาน และความเป็นจริงที่ชนรุ่นหลังต้องนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ รวบรวมและวิเคราะห์โดยดร. โอฬาร ไชยประวัติ และทีมนักวิจัยของสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง
ระยะเวลาในการครองราชย์ของแต่ละรัชกาลสมัยรัตนโกสินทร์ระยะเวลาในการครองราชย์ของแต่ละรัชกาลสมัยรัตนโกสินทร์ Page 2
Standard of International Reserves and Exchange • 1500–1870 silver standard of international reserves • Mexican silver coin เป็น international anchor currency และค่าเงิน 1 ดอลลาร์เม็กซิโกยึดโยงกับน้ำหนักโลหะเงินบริสุทธิ์ที่สเปนขุดและหลอมมาจากทวีปอเมริกาโดยประเทศที่ไม่ตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ เช่น จีน และไทยนิยมใช้เหรียญเงินเม็กซิกันดอลลาร์เป็นเงินสำรองระหว่างประเทศ • 1700–1870 silver standard of reserves • Pound Sterling เป็น international anchor currency และค่าเงิน 1 ปอนด์ยึดโยงกันน้ำหนักโลหะเงินบริสุทธิ์ (เช่นเดียวกับค่าเงิน 1 ดอลลาร์เม็กซิโก) โดยประเทศที่ตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ เช่น อินเดีย ปีนัง และสิงคโปร์ นิยมใช้เงินปอนด์สเตอริงเป็นเงินสำรอง Page 3
Standard of International Reserves and Exchange (cont’d) • 1870–1945 gold/paper standard of international reserves • Pound Sterling เป็น international anchor currency และค่าเงิน 1 ปอนด์ยึดโยงกับน้ำหนักทองคำบริสุทธิ์ • มีกรุงลอนดอนเป็นศูนย์กลางทางการเงินของโลก • เริ่มมีระบบธนาคาร (base on paper book-keeping) เป็นครั้งแรก โดย ธ.กลาง และ ธ.พาณิชย์ของโลกตั้งอยู่ในกรุงลอนดอน • รัฐบาลประเทศต่างๆ มีบัญชีเงินฝากเป็น Pound Sterling ไว้กับธนาคารในกรุงลอนดอนเป็นเงินสำรองของประเทศ และยังถือทองคำแท่งเป็นเงินสำรองของประเทศแทนเหรียญเงินเม็กซิโกดอลลาร์มากขึ้นเรื่อยๆ อีกด้วย Page 4
Standard of International Reserves and Exchange (cont’d) • 1946–1972 gold/paper standard of reserves • US dollar เป็น international anchor currency ค่าเงิน 1 ดอลลาร์ สรอ. ยึดโยงกับน้ำหนักทองคำบริสุทธิ์ (35 USD ต่อ ทองคำหนัก 1 ออนซ์) • เป็นผลพวงจากการประชุมนานาชาติและข้อตกลงร่วมกันที่ Bretton Woods (Bretton Woods Agreement) • มีนิวยอร์คเป็นศูนย์กลางทางการเงินของโลก แทนลอนดอน • ธ.กลางประเทศต่างๆ เก็บทองแท่งไว้ที่ ธ.กลาง สหรัฐฯ และมีบัญชีเงินฝากเป็น USD ไว้กับธนาคารในสหรัฐฯ Page 5
Standard of International Reserves and Exchange (cont’d) • 1972–1987 paper standard of reserves and fixed exchange rate • US dollar เป็น international anchor currency • ไม่มีการกำหนดค่าของ USD เทียบกับน้ำหนักของทองคำบริสุทธิ์อีกต่อไป ภายหลัง Smithsonian Agreement • ประเทศต่างๆ fix ค่าเงินตัวเองในอัตราตายตัวเมื่อเทียบกับ 1 USD with narrow band fluctuation แต่ให้เปลี่ยนค่าเงินได้เป็นระยะเมื่อจำเป็น เช่นกรณีของประเทศไทย fix ไว้ในอัตรา 21 บาท/USD (ช่วงปี 1954 - 1972) และเปลี่ยนมาเป็น 25 บาท/USD (ช่วงปี 1972 - 1981) และเป็น 26 บาท/USD (ช่วงปี 1981 - 1997) Page 6
Standard of International Reserves and Exchange (cont’d) • 1987–ปัจจุบันpaper standard of reserves and floating exchange rate • US dollar เป็น international anchor currency • ประเทศต่างๆ ไม่จำเป็นต้องผูกค่าเงินของตัวเองไว้กับ USD อีกต่อไป และ IMF พยายามสนับสนุนให้ค่าเงินของแต่ละประเทศลอยตัวตามอุปสงค์อุปทานของเงินตราต่างประเทศของตน • ประเทศต่างๆ เลือกได้ว่าจะเป็น free floating เช่น Euro zone, England, Indonesia และ ไทย (2 ก.ค.1997 - 31 ส.ค. 2007) หรือ managed float with target exchange rate and with narrow band fluctuation เช่น ญี่ปุ่น จีน สิงคโปร์ มาเลเซีย และไทย (1 ก.ย. 2007 – ปัจจุบัน) Page 7
ระบบการของเงินและอัตราแลกเปลี่ยนของไทยยุคกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ร.๑-ร.๓ • 1782–1850 ใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบ fixed exchange rate ในการค้าระหว่างประเทศ โดยมี Mexican silver coin เป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ (anchor currency) และอัตราแลกเปลี่ยนเท่ากับประมาณ 8 บาทต่อ 1 ปอนด์สเตอริง • 1Mexican silver dollar = 1.7 บาท (ค่าเงินบาทของไทยเทียบกับเหรียญเงินเม็กซิโกดอลลาร์โดยเงินไทย 1 บาท = น้ำหนักโลหะเงินบริสุทธิ์ 15 กรัม หรือ น้ำหนัก 1 บาท = 15 กรัม, 1 เหรียญ เงินดอลลาร์เม็กซิโก = น้ำหนักโลหะเงินบริสุทธิ์ 25 กรัม และ 1 ปอนด์สเตอริงอังกฤษ = น้ำหนักโลหะเงินบริสุทธิ์ 120 กรัม หรือค่าเงินบาทเท่ากับ 8 บาทต่อ 1 ปอนด์สเตอริง) Page 8
ระบบการของเงินและอัตราแลกเปลี่ยนของไทยยุคกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ร.๑-ร.๓ (ต่อ) • ใช้หอยเบี้ยและเงินพดด้วงเป็น money in circulation ของระบบเศรษฐกิจภายในประเทศ • การแลกเปลี่ยนในภาคเหนือส่วนใหญ่ใช้เงินรูปีอินเดีย (เนื่องจากติดต่อค้าขายกับพม่าเป็นหลัก) • มีพระคลังข้างที่ ทำหน้าที่ในการออกเงินพดด้วง เพื่อใช้ในระบบเศรษฐกิจ Page 9
ระบบการเงินและอัตราแลกเปลี่ยนของไทยยุคกรุงรัตนโกสินทร์ตอนกลาง ร.๔-ร.๕ • 1850–1882 1 Pound Sterling = 8 บาท (ค่าเงินบาทยังยึดโยงกับน้ำหนักโลหะเงินในช่วงปี 1850-1902 และเปลี่ยนมายึดโยงกับน้ำหนักโลหะทองคำบริสุทธิ์หลังปี 1902 ตามเงินปอนด์สเตอริงของอังกฤษ ซึ่งยึดโยงกับน้ำหนักทองบริสุทธิ์ตั้งแต่ปี 1870) • ไทยเปลี่ยนมาใช้ Pound Sterling เป็น reference currency พร้อมๆ กับการลงนามในสนธิสัญญาบาวริ่งกับอังกฤษในปี ค.ศ.1855 • เริ่มเก็บ international reserve ไว้ในรูปของเงินฝาก Pound Sterling ที่ธนาคารพาณิชย์ในกรุงลอนดอนพร้อมกับเก็บเหรียญโลหะเงินและโลหะทองคำแท่งเป็นเงินสำรองระหว่างประเทศด้วย Page 10
ระบบการเงินและอัตราแลกเปลี่ยนของไทยยุคกรุงรัตนโกสินทร์ตอนกลาง ร.๔-ร.๕ (ต่อ) • เริ่มผลิตเหรียญกระษาปณ์ที่ไม่ใช้โลหะเงินหรือทองคำออกหมุนเวียนในมือประชาชนเป็นครั้งแรก แต่ในช่วงแรกเหรียญกระษาปณ์ไทยยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของระบบเศรษฐกิจ • อนุญาตให้ใช้เหรียญเงินต่างประเทศหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจในปี 1857 • ด้วยอัตราแลกเปลี่ยน 5 บาทต่อ 3Mexican dollar แต่ค่อยๆ หมดไป เมื่อเหรียญกระษาปณ์ไทยออกหมุนเวียนเพียงพอกับความต้องการของประชาชน Page 11
ระบบการเงินและอัตราแลกเปลี่ยนของไทยยุคกรุงรัตนโกสินทร์ตอนกลาง ร.๔-ร.๕ (ต่อ) • 1883–1891 1 Pound Sterling = 8-10 บาท (ร.5) • THB fixed หลังจากเงินบาทค่อยๆ ลดค่าจาก 8 บาทในปี 1882 เป็น 10 บาท/sterling ในปี 1883 • ปี 1888 เกิดธนาคารพาณิชย์เป็นครั้งแรกในสยามคือธนาคาร HSBC • หลังจากนั้นมีธนาคารต่างชาติทยอยเข้ามาเปิดเพิ่ม เช่น Chartered Bank of India, Australia and China ในปี 1894The Banque de L’Indochine ในปี 1897 โดยธนาคารเหล่านี้ได้รับอนุญาตให้พิมพ์ธนบัตรออกใช้ในระบบเศรษฐกิจ แต่การใช้ยังจำกัดอยู่แต่ในเขตกรุงเทพฯ และตอนหลังมีธนาคารพาณิชย์ไทยคือ แบงค์สยามกัมมาจล (เริ่มปี 1906) • ภาคเหนือและพื้นที่ในรัฐมาเลเซียปัจจุบันยังใช้เงินรูปีอินเดียในการแลกเปลี่ยน Page 12
ระบบการเงินและอัตราแลกเปลี่ยนของไทยยุคกรุงรัตนโกสินทร์ตอนกลาง ร.๕-ร.๘ • 1892–19021 Pound Sterling = 12.10-19.30 บาท (THB weakening) (ร.5) • เมื่อราคาของโลหะเงินในเทอมของทองเริ่มตกในปี 1870 ค่าเงินบาท เมื่อเทียบกับ Sterling ก็เริ่มตก (เนื่องจากเงินปอนด์อังกฤษเปลี่ยนไป ผูกติดกับทองคำ) จาก 10 บาท/Sterling ในปี 1883 เป็น 21 บาท/Sterling ในปี 1902 รัฐบาลจึงยกเลิกการผูกติดค่าเงินกับโลหะเงิน และเปลี่ยนมาใช้ gold standard โดยกระทรวงการคลังประกาศ fix อัตราแลกเปลี่ยนกับ Sterling ไว้ที่ 20 บาท/Sterling Page 13
ระบบการเงินและอัตราแลกเปลี่ยนของไทยยุคกรุงรัตนโกสินทร์ตอนกลาง ร.๕-ร.๘ (ต่อ) • 1903–19211 Pound Sterling = 19.0-9.54 บาท(THBstrengthening) (ร.5 – ร.6) • อย่างไรก็ตาม เหรียญเงินยังเป็น money in circulation หลักในระบบเศรษฐกิจ ดังนั้น เมื่อราคาของโลหะเงินแข็งขึ้นเมื่อเทียบกับทองหลังจาก จุดต่ำสุดในปี 1902 เป็นต้นมา เหรียญเงินก็ถูก export ออกไปในรูปของ เงินแท่ง และส่งผลให้เงินบาทแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับ Sterling ซึ่งแข็งค่าขึ้นจาก 20 บาท/Sterling เป็น 13 บาท/Sterling ในปี 1907 และคงที่ที่อัตราดังกล่าวจนถึงปี 1919 (เพราะว่าในยามที่ราคาเงินลดลง รัฐบาลไม่ยอม ให้บาทลดตาม แต่ในยามที่ราคาโลหะเงินเพิ่มขึ้น รัฐบาลจะยอมให้บาท แข็งตาม) Page 14
ระบบการเงินและอัตราแลกเปลี่ยนของไทยยุคกรุงรัตนโกสินทร์ตอนกลาง ร.๕-ร.๘ (ต่อ) • 1903–19211 Pound Sterling = 19.0-9.54 บาท(THBstrengthening) (ร.5 – ร.6) (ต่อ) • Notes in circulation ถูก back ด้วย reserve 100% โดยบางส่วนของ reserve จะ invest ใน Sterling securities (ปี 1906 พบว่า 75% เป็น silver coin อีก 25% เป็น foreign securities โดยส่วนใหญ่เป็น Sterling) • ปี 1908 ออกกฎหมายรองรับ gold-exchange standard • การใช้ธนบัตรแพร่หลายขึ้น โดยเพิ่มจาก 18.8 ล้านบาทในปี 1911 เป็น 113.8 ล้านบาทในปี 1919 ในขณะที่ปริมาณ silver coin in circulation ค่อนข้างคงที่ ที่ประมาณ 100 ล้านบาทในช่วงเวลาเดียวกัน • เมื่อความต้องการเงินบาทมีมากขึ้น ความลำบากในการผลิต silver coin ออกมาให้เพียงพอกับความต้องการก็ทำได้ยากขึ้น ในที่สุดการใช้เหรียญเงินก็ค่อยลดสัดส่วนใน circulation ลง และหายไปในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 เนื่องจากการ ซื้อขายโลหะเงินถูกควบคุมโดยกองทัพพันธมิตร • 1922–19411 Pound Sterling = 11 บาท(THB fixed) (ร.6 - ร.8) • 1942–1946world war II, การค้าขายระหว่างประเทศหยุดชะงักเพราะสงครามอัตราแลกเปลี่ยนผันแปรมาก (ร.8) Page 15
ระบบการเงินและอัตราแลกเปลี่ยนของไทยยุคกรุงรัตนโกสินทร์ปัจจุบัน ร.๙ • 1947 อัตราแลกเปลี่ยน 24.10 บาท/USD (หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยไทยเป็นฝ่ายแพ้สงคราม) • ไทยเปลี่ยนมาใช้ USD เป็น reference currency โดย fixed ค่าเงินบาทกับ USD เพราะ USD ได้กลายมาเป็น international anchor currency แทน Pound sterling ของอังกฤษ และ New York City กลายเป็นศูนย์กลางทางการเงินแทน London • 1948–1953 อัตราแลกเปลี่ยน 18.37–22.30 บาท/USD (ไทยใช้ระบบ multiple exchange rate system เพื่อปันส่วน USD ที่ยังขาดแคลน เพราะส่งออกยังไม่เข้าสู่ภาวะปกติ) • 1954–1972 อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 21.00 บาท/USD (20.77-21.59) • ไทยใช้ระบบ fixed ค่าเงินบาทกับ USD แต่เปลี่ยนค่าเงินบาทขึ้นลงบ้างเป็นระยะๆ เพียงเล็กน้อย (narrow band fluctuation) โดยใช้ Exchange Equalization Fund (EEF) เป็นองค์กรซื้อขาย USD โดยตรงในอัตราผันแปรค่อนข้างต่ำกับธนาคารพาณิชย์ Page 16
ระบบการเงินและอัตราแลกเปลี่ยนของไทยยุคกรุงรัตนโกสินทร์ปัจจุบัน ร.๙ (ต่อ) • 1972–1981 อัตราแลกเปลี่ยน 25.xx บาท/USD • ไทยลดค่าเงินบาทแล้ว fixed กับ USD with narrow band fluctuation (รมต.สมหมาย 1) โดยใช้ EEF เป็นองค์กรทำ intervention ในตลาดเงินตราต่างประเทศ on-shore • 1982–1997 อัตราแลกเปลี่ยน 26.xx บาท/USD • ไทยลดค่าเงินบาทแล้ว fixed กับ USDwith narrow band fluctuation (รมต. สมหมาย 2) โดยใช้ EEF ทำ intervention ในตลาด FX ทั้ง on-shore และ off-shore ในปี 1997 (ก.พ. – ธ.ค. 1997) Page 17
ระบบการเงินและอัตราแลกเปลี่ยนของไทยยุคกรุงรัตนโกสินทร์ปัจจุบัน ร.๙ • 2 Jul 1997 - 31 Aug 2007 อัตราแลกเปลี่ยนขึ้นลงมากในช่วงกว้างประมาณ 30-55 บาท/USD • Free floating exchange rate with little or no intervention from BOT (ลอยตัวค่าเงินบาทโดยไม่จัดการ) • 1Sep 2007– present อัตราแลกเปลี่ยน ประมาณ 34.00-34.50 บาท/USD • Managed float with target exchange rate by authorities and narrow band fluctuation allowed by BOT ซึ่งฝ่ายการธนาคาร ของ ธปท. ทำการแทรกแซงเองโดยไม่ใช้ EEF เพราะ EEF เลิกกิจการไปแล้ว Page 18