590 likes | 1.19k Views
CHAPTER 9 การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไทย. EC482. ความหมายของ Competitiveness Index.
E N D
CHAPTER 9 การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไทย EC482
ความหมายของ Competitiveness Index ดัชนีชี้วัดทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ที่แสดงถึงความมั่งคั่งของประเทศ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ประสิทธิภาพการผลิต คุณภาพชีวิตของประชาชน และสภาพแวดล้อมที่ทำให้ปัจจัยเกื้อหนุนต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศให้คงอยู่ได้ ความหมาย สถาบัน ที่สำคัญ IMD : International Institute for Management Development WEF : World Economic Forum
การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของIMDการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของIMD อันดับความสามารถในการแข่งขันรวมของกลุ่มเศรษฐกิจ ประเทศ 5 อันดับแรก 2546 2547 2548 2549 2550 สหรัฐฯ 1 1 1 1 1 ฮ่องกง 10 6 2 2 3 สิงคโปร์ 4 2 3 3 2 ไอซ์แลนด์ 8 5 5 4 7 เดนมาร์ก 5 7 7 5 5 กลุ่มประเทศ อาเซียน 2546 2547 2548 2549 2550 สิงคโปร์4 2 3 3 2มาเลเซีย 2116 26 22 23 ไทย 28 26 25 29 33 ฟิลิปปินส์ 36 32 36 45 45 อินโดนีเซีย 49 49 50 52 54 ที่มา : IMD 2007
ปัจจัยที่ผลต่อความสามารถในการแข่งขันของไทยปัจจัยที่ผลต่อความสามารถในการแข่งขันของไทย ปัจจัยหลัก 2546 2547 2548 2549 2550 1. สมรรถนะทางเศรษฐกิจ 13 9 7 29 33 2. ประสิทธิภาพภาครัฐ 18 20 14 20 27 3. ประสิทธิภาพภาคธุรกิจ 25 21 25 25 34 4. โครงสร้างพื้นฐาน 43 42 39 42 48 อันดับโดยรวม 28 26 25 29 33 จำนวนประเทศ 49 59 60 61 55 IMD 2007
การจัดอันดับประสิทธิภาพของภาคเอกชนของไทยการจัดอันดับประสิทธิภาพของภาคเอกชนของไทย 2546 2547 2548 2549 2550 ประสิทธิภาพภาคเอกชน 25 21 25 25 34 ผลิตภาพ & ประสิทธิภาพ 20 48 56 48 48 ตลาดแรงงาน 4 5 5 6 7 การเงิน 13 36 46 41 44 การบริหารจัดการ 8 24 27 26 35 ทัศนคติและค่านิยม 11 12 16 20 30 IMD 2007
การจัดอันดับประสิทธิภาพโครงสร้างพื้นฐานของไทยการจัดอันดับประสิทธิภาพโครงสร้างพื้นฐานของไทย 2546 2547 2548 2549 2550 โครงสร้างพื้นฐาน 43 42 39 42 48 สาธารณูปภาคพื้นฐาน 14 41 38 38 35 Infra ด้านเทคโนโลยี 20 45 45 48 48 Infra ด้านวิทยาศาสตร์ 26 55 56 53 49 สุขภาพและสิ่งแวดล้อม 18 48 46 48 48 การศึกษา 21 48 46 48 46 IMD 2007
การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของ WEF อันดับความสามารถในการแข่งขันของกลุ่มเศรษฐกิจ ประเทศ Overall Index, GCI Sub Indexes (2006-07) 5 อันดับแรก 2006-07 2005-06 Basic req. Efficiency Innovation Switzerland 1 4 552 Finland 2 2346 Sweden 3 7725 Denmark 4 316 7 Singapore 5 52315 ประเทศ Overall Index, GCI Sub indexes (2006-07) เขตเศรษฐกิจเอเชีย 2006-07 2005-06 Basic req. Efficiency Innovation สิงคโปร์ 4552 3 15 เกาหลีใต้ 241922 25 20 มาเลเซีย 26252426 22 ไทย 35333843 36 จีน 54484471 57 อินเดีย 43456041 26 อินโดนีเซีย 506968 5041 ฟิลิปปินส์ 71738463 66 เวียดนาม 77747183 81 กัมพูชา 103111100110 102 ที่มา : Global Competitiveness Report (2006-07)
Outline: 1) ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับ“วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ 2) ภาพรวมและประวัติการพัฒนาเทคโนโลยีและการพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศไทย 3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน 4) กรอบแนวคิดในการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของไทย
1) ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับ“วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ • วิทยาศาสตร์ คือ การศึกษาธรรมชาติและพฤติกรรมของสิ่งที่เป็นธรรมชาติ • เทคโนโลยี คือ วิธีการ ระบบ และเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เป็นผลจากการนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ • เครื่องมือชี้วัดสถานะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (S&T) -กิจกรรมด้านวิจัยและพัฒนา -การให้บริการทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคนิค -การให้การศึกษาและฝึกอบรมทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคนิค
ความหมายและความสำคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการพัฒนาเศรษฐกิจความหมายและความสำคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการพัฒนาเศรษฐกิจ • การวิจัยและพัฒนา (R&D) หมายถึง งานที่มีลักษณะสร้างสรรค์ ซึ่งกระทำอย่างเป็นระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มพูนคลังความรู้ รวมทั้งความรู้ที่เกี่ยวกับมนุษย์ วัฒนธรรมและสังคม และการใช้ความรู้เหล่านี้เพื่อค้นพบวิธีการใช้ประโยชน์ใหม่ ๆ • นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง การเกิดแนวคิดใหม่ ๆ หรือการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ • นวัตกรรมทางด้านเทคโนโลยี หมายถึง การดำเนินกิจกรรมทางด้านเทคโนโลยีที่ก่อให้เกิดสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ กระบวนการผลิตใหม่โดยรวมถึงการใช้เทคโนโลยีที่ก่อให้เกิดการปรับปรุงอย่างมากในคุณลักษณะสำคัญของผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตของผู้ผลิตสินค้าและบริการ
ผลของความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศต่อภาคอุตสาหกรรมผลของความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศต่อภาคอุตสาหกรรม • การปรับปรุงการบริหารด้าน supply chain ของภาคอุตสาหกรรม • องค์กรธุรกิจและอุตสาหกรรมมีการรวมตัวกันในแนวนอน (horizontal) • การเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตระหว่างประเทศทั้งทุนแลแรงงานเป็นไปได้ง่ายขึ้น • การแข่งขันในระหว่างภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมต่าง ๆ สูงมากขึ้น • การแข่งขันที่เข้มข้นมากขึ้นทั้งในด้านการผลิตและการตลาด
ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ หมายถึง ระบบเศรษฐกิจที่อาศัยการผลิต การแพร่กระจาย และการใช้ความรู้ เป็นปัจจัยหลักขับเคลื่อนให้เกิดการสร้างงาน การสร้างความมั่นคงและการเจริญเติบโตในภาคเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมทุกรูปแบบ มากกว่าปัจจัยด้านเงินทุนและแรงงาน มากกว่าปัจจัยทางด้านเงินทุนและแรงงาน • ประเทศไทยมีแนวคิดการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศในระยะ 10 ปีข้างหน้า (พ.ศ.2547-56) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำพาประเทศไทยสู่สังคมและเศรษฐกิจฐานความรู้ (knowledge-based society: KBS)
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นปัจจัยสำคัญและจำเป็นต่อการยกระดับความสามารถในการผลิตสินค้าและบริการของประเทศ ซึ่งส่งผลต่อเนื่องถึงการยกระดับฐานะเศรษฐกิจและสังคม และทำให้เศรษฐกิจของประเทศพัฒนาได้ในระยะยาว • การวิจัยและพัฒนา การมีนวัตกรรมทางด้านเทคโนโลยี และความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นกิจกรรมและกลไกสำคัญที่ผู้ผลิตสินค้าและบริการจำเป็นต้องมีเพื่อให้ธุรกิจสามารถอยู่รอดและแข่งขันได้ในระยะยาว
Agriculture Age Industrial Age Information Age Inform Tech Bio-tech + Material-tech + Nano-tech USA - Digital Language Physic -Cosmological constant Japan Taiwan Need Radical catch up -Global Business • Physics revolution • Petrochemical - E-commerce • Bio-competitive • Advantage Knowledge & Technology Singapore Korea China Malaysia - Oral & written Thailand • Knowledge economy • Resource & labor & • Machinery based Economy - Global Labor for Services • Mass Production & • Efficiency - Genetic code - Globalization 1840 30,000 B.C. 1900 1960 2000 2005 2010 2015 2020 Slow Speed of Change Rapid Speed of Change ที่มา: สพศ. กระแสโลกกำลังเปลี่ยนผ่านสู่เศรษฐกิจฐานความรู้
ปัญหาของประเทศที่อยู่กึ่งกลางห่วงโซ่มูลค่า (Nut Cracker) • ประเทศผู้ผลิตสินค้า Lo-Tech เช่น อินโดนีเซีย อยู่ในฐานะที่ดีกว่า • ในฐานะผู้ผลิตสินค้า Hi-Tech ประเทศไทยมี productivity เพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง • แม้ไทยจะมีการส่งออกมากแต่นำเข้ามากทำให้ขาดดุล Productivity becomes key element for New Competitive Age
ตัวแบบทางธุรกิจ กระบวนการทางธุรกิจ รูปแบบจัดการและวัฒนธรรม นวัตกรรม นโยบายและสังคม บริการ สินค้า นวัตกรรมคือกุญแจสำคัญในการเพิ่มผลิตภาพการผลิตให้แก่ภาคการผลิตที่แท้จริง Output Knowledge Capital Output Labor Innovation Basic Technology TFP
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยปี 2543- 2549 (โดย IMD) สมรรถนะทางเศรษฐกิจ ประสิทธิภาพของรัฐบาล * อันดับรวม ประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ โครงสร้างพื้นฐาน ที่มา : International Institute for Management Development (2006). World Competitiveness Yearbook 2006
40 , 000 US US Finland Hong Kong Germany UK 30 , 000 Finland Hong Kong France Japan UK Germany Singapore Japan France Korea Singapore GDP per Capita 2002 20 , 000 Thailand Malaysia Thailand Korea Philippines Indonesia China Bangladesh India Vietnam 10 , 000 Malaysia Philippines China Indonesia Bangladesh India Vietnam 0 15 20 25 30 35 40 จากการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมในภาพรวมพบว่า ไทยยังอยู่ในอันดับต่ำ... Technology Ranking อันดับ USA 1 Taiwan 3 Japan 5 Korea 6 Singapore 12 Malaysia 20 Hong Kong 37 Thailand 39 Philippines 56 China 65 Vietnam 73 Indonesia 78 Innovative Capacity Index 2003 Total 102 ที่มา : The Global Competitiveness Report 2003-2004, WEF ที่มา : The Global Competitiveness Report 2003-2004, WEF
จากกลุ่มตัวชี้วัดเหล่านี้ สะท้อนให้เห็นถึง ไทยต้องเร่งให้ความสำคัญกับการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ Number of Patents in Force(per 100,000 inhabitants, 2001) การจัดลำดับของ WEF ในด้าน Technological sophistication ของประเทศ ญี่ปุ่นไต้หวันเกาหลีสหรัฐ 5 848.4 ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ฮ่องกง ไทย 8 748.0 สิงคโปร์ ไต้หวัน มาเลเซีย 17 516.4 18 487.2 2.6 ไทย 44 5 6 15 17 19 22 36 Total 50 Total 102 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2004 ที่มา : Global Competitiveness Report 2003 – 2004 Number of Commercialised Cases Year 2002 สัดส่วนของ SMEs ที่มีการพัฒนาด้านนวัตกรรม สหรัฐญี่ปุ่น 3,734 40% เกาหลีใต้ 35% 349 ญี่ปุ่น 7% ไทย 91 ( 1998-2004) ไทย ที่มา : สวทช. ที่มา : AUTM 2002 และการเก็บข้อมูลของสพข.
อันดับความสามารถด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของประเทศต่าง ๆ โดย IMD 1
ประเทศไทยมีการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาต่ำมาก เมื่อเทียบกับประเทศเกาหลี และไต้หวัน ที่มีการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาเฉลี่ยประมาณร้อยละ 2.5 ของ GDP อีกทั้งยังต่ำกว่ามาเลเซียประมาณ 3 เท่า ค่าใช้จ่ายในด้านการวิจัยและพัฒนา ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อ GDP ที่มา : 1. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติและสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2. Malaysian Science and Technology Information Center (MASTIC), Malaysia 3. The Ministry of Science and Technology (MOST), The People’s Republic of China
ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของภาครัฐและเอกชนของประเทศไทยและประเทศต่างๆค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของภาครัฐและเอกชนของประเทศไทยและประเทศต่างๆ ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติและสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
บุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาภาครัฐและเอกชนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาภาครัฐและเอกชน ต่อประชากร 10,000 คน ของประเทศไทยและประเทศต่างๆ ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติและสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
บุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทยบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย ประเทศไทยยังมีบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไม่เพียงพอ กล่าวคือประเทศไทยได้คะแนนเพียง 4.4 คะแนน ซึ่งต่ำกว่าของไต้หวัน มาเลเซีย เกาหลี และเวียดนาม ซึ่งได้ 5.8, 5.2, 5.1 และ 5 ตามลำดับ ที่มา : World EconomicForum (2006). The Global Competitiveness Report 2005-2006.
สิทธิบัตร ปี 2547 ในกลุ่มเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะพบว่า ประเทศไทยมีการยื่นขอสิทธิบัตรสูงกว่า สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และมาเลเซีย แต่กลับมีจำนวนการจดสิทธิบัตรน้อยกว่าประเทศดังกล่าวโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเปรียบเทียบกับสิงคโปร์จะเห็นได้ว่า ประเทศไทยมีการยื่นขอ สิทธิบัตรสูงกว่าสิงคโปร์เกือบ 1,000 รายการ แต่มีจำนวนการจดสิทธิบัตรน้อยกว่าสิงคโปร์ประมาณ 2 เท่าตัว ที่มา: SIPO&CTMO (China), JPO (Japan), KIPO (Korea), IPO (Taiwan), IPOS (Singapore), DGIPR (Indonesia), IPO (Philippines), MYIPO (Malaysia), DIP (Thailand), NOIP (Vietnam)
สัดส่วนจำนวนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาต่อผลงานตีพิมพ์ 1 บทความของประเทศไทยเปรียบเทียบกับประเทศในกลุ่มเอเชียจะ พบว่า บุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาของสิงคโปร์มีศักยภาพในการผลิตผลงานตีพิมพ์มากที่สุดโดยบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา 4.41 คนสามารถผลิตผลงานตีพิมพ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ 1 บทความ ในขณะที่ประเทศไทยต้องใช้บุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาจำนวน 19 คน จึงจะผลิตผลงานตีพิมพ์ได้ 1 บทความ ผลงานตีพิมพ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีปี 2547 ที่มา : Science Citation Index
กรอบแนวคิดการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของไทยกรอบแนวคิดการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของไทย ความอยู่ดีมีสุข ความสามารถในการแข่งขัน การสร้างความรู้ความเข้าใจและจิตสำนึก การปฏิรูปภาครัฐ อุตสาหกรรม บริการ เกษตร การปฏิรูปภาคเอกชน • พื้นฐานมหภาค • นโยบายการเงินการคลัง • นโยบายการค้าการลงทุน • นโยบายการต่างประเทศ • ปัจจัยสนับสนุน • ทรัพยากรมนุษย์ • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • การบริหารจัดการ • โครงสร้างพื้นฐาน • ทรัพยากรธรรมชาติ+สิ่งแวดล้อม Enabling Factors
การเชื่อมโยงระหว่างสาขาการผลิตเพื่อสร้างคุณค่าเพิ่ม (Value Creation) Industry is considered beyond manufacturing activities High productivity by nano and Bio-tech, local wisdom, biodiversity High productivity By IT, HR หรือ Process Innovation • Logistics for agriculture • Bio-products for logistics eg. for packaging • Thai-herb for spa and Tourism Services Agriculture Encourage interaction between sectors, segments and products • From Domestics to Domestics, Regional Focus • Bio-based production • Food security/sustainability • New opportunity i.e bio-fuel • From Generalization to • Specialization, Differentiation • Bio- Material to support others • From Tradition to Innovation Manufacturing • Logistics for manufacturing OEM ODM, OBM Imitation Innovation Differentiation Low cost
แนวทางการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของไทย: การเชื่อมโยงภาคเกษตรให้เป็นฐานของการพัฒนาภาคบริการ Healthcare • พัฒนาความรู้เฉพาะทาง/ ทักษะการสื่อสารให้บุคลากร • สร้าง/ส่งเสริมเทคโนโลยีการแพทย์ที่ทันสมัย • ส่งเสริมแพทย์แผนโบราณ/ โภชนเภสัชศาสตร์ Education • พัฒนามาตรฐานการศึกษา/ ทักษะการสื่อสาร • ขยายรูปแบบการศึกษา • สามารถพัฒนาให้เป็นสินค้าบริการส่งออกเช่น • สปา • นวดแผนโบราณ • ร้านอาหารไทย • ร.ร.สอนรำไทย • ร.ร.สอนมวยไทย • แพทย์/ พยาบาล/ นักวิทยาศาสตร์/ อาจารย์ Tourism Fruits & Vegetables ส่งเสริม Agro tourism สร้างสินค้าใหม่ให้กับการท่องเที่ยว • พัฒนาสินค้าการท่องเที่ยวใหม่ๆ • ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างยั่งยืน (Utilise resources) และให้เกิดประโยชน์สูงสุด (Optimisation) • ไม่เน้นการสร้างอย่างฟุ่มเฟือย แต่เน้นการบำรุงรักษาทรัพยากรที่มีอยู่ • การบริหารความเสี่ยง (risk/uncertainty management) ส่งเสริม Agro tourism Livestock/ Fishery
หลักการพื้นฐานการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืนหลักการพื้นฐานการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน Sustained Prosperity More Balanced Structure Better Distribution ฐานเศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืน Economic stability and sustainability เพิ่มมูลค่าผลผลิตด้วยฐานความรู้ Value creation from knowledge application เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก และภูมิภาค Global and regional positioning ควบคู่ไปกับนโยบายสังคมเชิงรุก Proactive social policy to create positive externality
แนวทางการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจแนวทางการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ปัจจัยแวดล้อมสำคัญ (Enabling factors) เกษตร อุตสาหกรรม บริการ พัฒนาเครือข่ายคลัสเตอร์ และเชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทาน • ความปลอดภัยด้านอาหาร • ผลิตสินค้าเกษตรที่มีโอกาสใหม่ เช่น พืชพลังงานทดแทน • ส่งเสริมอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพสูง/ อุตสาหกรรมใหม่ • อุตสาหกรรมที่มีแนวโน้มดีขึ้น • พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว • พัฒนาธุรกิจบริการที่มีศักยภาพ อาทิ บริการสุขภาพ ค้าส่งค้าปลีก โครงสร้างพื้นฐาน/ ลอจิสติกส์/ พลังงาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นโยบายเศรษฐกิจมหภาค ทรัพยากรมนุษย์ (การศึกษา/แรงงาน) กฎหมาย/ ข้อบังคับต่างๆ การปฏิรูประบบราชการ • เพิ่มประสิทธิภาพการบริการภาครัฐ • สนับสนุนการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน • จัดการระบบE-Government • ส่งเสริมการออม • สนับสนุนการเงินฐานราก • ปรับโครงสร้างภาคการเงิน • เพิ่ม ปสภ รัฐวิสาหกิจ • การลงทุนรัฐร่วมเอกชน (PPP) • กระจายอำนาจสู่ภูมิภาค/การคลังยั่งยืน • Pro-poor policy • ความร่วมมือในภูมิภาค(Trade/ Investment/ Tourism/ Energy/ Finance) • New market • opportunities
ภาคเอกชน :ธุรกิจที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ มีจุดเน้นที่ยุทธศาสตร์ เชื่อมโยงกัน ทั้งแนวตั้งแนวนอน สถาบันการศึกษาและ R&D:พัฒนาเสริมสร้างพื้นฐานด้าน ทรัพยากรมนุษย์และนวัตกรรม สถาบัน/สมาคม/ผู้ให้บริการต่างๆ: พื้นฐานการพัฒนาเทคนิคและการรวมกลุ่มธุรรกิจ CLUSTER ภาครัฐบาล :นโยบาย กฎ ระเบียบเกี่ยวกับอุตสาหกรรม ส่งเสริมการเปิดกว้างทางการค้า ขับเคลื่อนโดยอุปสงค์ คลัสเตอร์ทำให้เกิดการเพิ่มผลผลิต (Productivity) และนำไปสู่ความสามารถในการแข่งขัน
2. ความร่วมมือ (Collaboration) 1. การเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน(Connectivity) • สมาชิกใน Cluster จะร่วมมือกัน โดย มีการกำหนดเป้าหมายร่วมกัน (Core Objective/Value) รวมทั้งกลยุทธ์ • ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนและ ถ่ายทอดความรู้ ข้อมูลข่าวสาร • เป็นการเชื่อมโยง ทั้งแนวตั้งและ แนวนอน • การเชื่อมโยงไม่ได้จำกัดอยู่เพียงผู้ ประกอบการเท่านั้น แต่รวมถึงสถาบัน การศึกษา/วิจัยและพัฒนา สถาบัน การเงิน องค์กรภาครัฐ และสมาคม เอกชน 3. การแข่งขัน (Competition) • Cluster มิใช่ระบบผูกขาดทางการค้าที่ มุ่งกำหนดกลไกราคาหรือปริมาณ เพื่อ ผลประโยชน์ร่วมกันของสมาชิก • การรวมกลุ่มแบบ Cluster จะต้องอยู่ บนพื้นฐานของการแข่งขัน 4. ประสิทธิภาพโดยรวม (Collective Efficiency) • ความร่วมมือท่ามกลางการแข่งขันประกอบกับการเชื่อมโยงที่เป็นระบบ การแลก เปลี่ยนข้อมูล ความรู้ ตลอดจนทรัพยากรต่างๆ จะทำให้เกิดประสิทธิภาพโดยรวม คลัสเตอร์ : มิติใหม่ของความสามารถในการแข่งขันที่ยั่งยืน
คลัสเตอร์จะทำให้ภาคการผลิตและบริการมีความเข้มแข็งและแข่งขันได้คลัสเตอร์จะทำให้ภาคการผลิตและบริการมีความเข้มแข็งและแข่งขันได้ ช่วยให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลและองค์ความรู้ของสมาชิก ช่วยลดต้นทุนของธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมการเกิดธุรกิจใหม่และการขยายตัวของธุรกิจเดิม เกิดการสร้างนวัตกรรม
คลัสเตอร์ควรริเริ่มโดยภาคเอกชน และกระตุ้น/สนับสนุนโดยภาครัฐ ศึกษาความเป็นไปได้ และคัดเลือกคลัสเตอร์ที่จะทำการส่งเสริม Cluster Mapping Cluster Development Agent (CDA) ขั้นตอนการพัฒนาคลัสเตอร์ กระตุ้น/สร้างจิตสำนึกของการรวมกลุ่ม ให้เข้าใจยุทธศาสตร์ และกระบวนการ (Promotion and Mobilization) วิเคราะห์สถานภาพของคลัสเตอร์ (Diagnosis) จัดทำยุทธศาสตร์ ที่เป็นความเห็นร่วมกัน (Collaborative Strategy) นำไปสู่การปฏิบัติ (Implementation) ที่มา : สำนักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
Food Fashion Automobile Chemicals and Plastics Electrical and Electronics Building and Furnishing Materials Household Goods ตัวอย่างแผนที่เครือข่ายวิสาหกิจในประเทศไทย (Cluster Mapping) Dried Fruits - เชียงใหม่ Clothes - เชียงใหม่ Jewels Shaping - พะเยา Canned Tropical Fruits - เชียงใหม่ Electronics - ลำพูน Ceramics - ลำปาง Clothes - สกลนคร Agriculture Machinery - พิษณุโลก Sugar - ขอนแก่น Jewels Shaping - อุบลราชธานี Chicken - ลพบุรี Basic Plastic Product - นครราชสีมา Animal Feed - สระบุรี Agriculture Machinery - อยุธยา Electronics - อยุธยา Basic Processed Leather - สมุทรปราการ Pork - นครปฐม Electrical Appliances - ชลบุรี Frozen Shrimp - สมุทรสาคร Petro Chemicals - ชลบุรี แป้งข้าวเจ้า - ราชบุรี Chemicals-ระยอง/ Petro Chemical - ระยอง Textiles - ราชบุรี Spices (Pepper) - จันทบุรี Canned Pineapple - เพชรบุรี Jewels Shaping - จันทบุรี Basic Iron Production - ประจวบคีรีขันธ์ Basic Iron Production - ระยอง Automobile - ชลบุรี/ ระยอง Processed Para Wood - สุราษฎร์ธานี Processed Para Wood - สงขลา Canned Tuna - สงขลา Basic Processed Para Rubber - สงขลา
+ มีมาตรการช่วยเหลือผู้ประกอบการทั้งด้านการตลาด และฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวจากผลกระทบสึนามิ + สร้างความมั่นใจให้นักท่องเที่ยวด้านความปลอดภัย อาทิ ติดตั้งระบบเตือนภัย กล้อง CCTVและมีมาตราการรักษาความปลอดภัยในพื้นที่นักท่องเที่ยวหนาแน่น + ธุรกิจโรงแรมขนาดกลางและใหญ่เน้นการแข่งขันด้านคุณภาพ สามารถตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของนักท่องเที่ยวได้ + มีการดำเนินงานของภาครัฐเพื่อสร้างบรรยากาศและสนับสนุนการท่องเที่ยวโดยรวม Government Strategy, Structure, and Rivalry Factor Conditions Demand Conditions Related and Supporting Industries + จำนวนนักท่องเที่ยว วันพำนักเฉลี่ย และค่าใช้จ่ายต่อหัวเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2547 (ก่อนเกิดสึนามิ) + ร้อยละ 54 เป็นกลุ่มนักท่องเที่ยวที่กลับมาเที่ยวซ้ำ + ร้อยละ 64 เป็นนักท่องเที่ยวต่างชาติสามารถสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวได้มากกว่าร้อยละ 80 ของรายได้จากการท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต Diamond Model (ปัจจัยบวก) ++ ชายหาดสวยงาม สภาพภูมิอากาศและทำเลที่ตั้งเหมาะสม ++ ความมีอัธยาศัยไมตรีของคนไทย + อาหารรสชาดเลิศและหลากหลายและมีแหล่ง shopping เพียงพอ + มีเที่ยวบินตรงจากหลายประเทศ + มีความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวก (โรงแรมที่พัก 570 แห่ง) + ธุรกิจการท่องเที่ยวและธุรกิจเกี่ยวเนื่องมีจำนวนมาก (822 แห่ง) อาทิ มีโรงแรมระดับหรูได้รับการยอมรับในมาตรฐานระดับโลก + มีสถาบันการศึกษาจำนวนมาก และหลากหลาย + สมาคมและชมรมต่างๆ มีการสร้างสัมพันธ์ในหมู่สมาชิกและดำเนินกลยุทธ์ระยะสั้นร่วมกัน
ยุทธศาสตร์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมไทยยุทธศาสตร์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมไทย ปัญหาและยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน • แนวทางและแหล่งที่มาของเทคโนโลยีในภาคอุตสาหกรรม • ปัญหาในการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย • ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
ปัญหาการดำเนินงานด้านการวิจัยและการพัฒนาของประเทศไทยปัญหาการดำเนินงานด้านการวิจัยและการพัฒนาของประเทศไทย • การลงทุนเพื่อการวิจัยมีน้อยเกินไป • เกิดช่องว่างระหว่างผู้พัฒนาเทคโนโลยีในภาครัฐและผู้ใช้เทคโนโลยีในภาคเอกชนอยู่มาก • งานวิจัยและพัฒนาของภาครัฐมีความเชื่อมโยงกับภาคการผลิตที่แท้จริงน้อยมาก • นโยบายปกป้องคุ้มครองอุตสาหกรรมลดแรงจูงใจของการเรียนรู้และพัฒนาด้านระบบผลิตของภาคเอกชน
แนวทางและแหล่งที่มาของเทคโนโลยีในภาคอุตสาหกรรมแนวทางและแหล่งที่มาของเทคโนโลยีในภาคอุตสาหกรรม • แหล่งที่มาของเทคโนโลยีมีอยู่ 2 ทาง คือ -การสร้างเทคโนโลยีขึ้นเอง -การซื้อเทคโนโลยีจากต่างประเทศ • ในทางทฤษฎี การนำเข้าเทคโนโลยีจะครอบคลุม 2 ประการ คือ -ประการแรก คือ การนำเข้าเครื่องจักร อุปกรณ์ และความรู้ความชำนาญที่จำเป็นต่อการผลิตทางอุตสาหกรรม -ประการที่สอง คือ การถ่ายทอดข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ซึ่งเป็นพื้นฐานของเทคโนโลยีนั้น ตลอดจนความรู้ ความสามารถในการสร้างและพัฒนาเทคโนโลยีนั้น
ในทางปฏิบัติ การนำเข้าเทคโนโลยีมักจะไม่ได้เทคโนโลยีประการที่สอง ซึ่งเป็นส่วนที่เสริมสร้างความสามารถทางเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมอย่างแท้จริง แต่ได้รับเพียงเทคโนโลยีในส่วนที่เสริมสร้างกำลังการผลิตเท่านั้น • ประเทศไทยมีความอ่อนแอทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำให้ไทยสามารถสร้างเทคโนโลยีขึ้นเองในประเทศได้น้อยมากและจำเป็นต้องพึ่งพาการนำเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศเป็นหลัก • ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา การพึ่งพาเทคโนโลยีนำเข้าของไทยมีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี
สาเหตุสำคัญที่ทำให้อุตสาหกรรมไทยมีการพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมในระดับที่ต่ำ • ก) สาเหตุแรก: โรงงานอุตสาหกรรมไทยมีกิจกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีค่อนข้างจำกัด หรืออีกนัยหนึ่งการพัฒนาเทคโนโลยีของภาคอุตสาหกรรมมีความเข้มข้นต่ำ (limited intensity of technology development) อันเนื่องจากการเติบโตของอุตสาหกรรมไทยอาศัยเทคโนโลยีตื้นๆ (technology shallow path of industrial growth) นั่นคือ โรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ไม่สนใจการลงทุนเพื่อสร้างสมรรถนะ (capabilities) ในการพัฒนาเทคโนโลยี • ภาคเอกชนมักขาดแรงจูงใจในการพัฒนาเทคโนโลยี เพราะปัญหาสำคัญที่นักเศรษฐศาสตร์เรียกว่า “ความล้มเหลวของกลไกตลาด” (market failure) กล่าวคือการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีมีลักษณะเป็นสินค้ามหาชน (public goods) ผู้ที่ลงทุนอาจไม่สามารถตักตวงผลประโยชน์กลับคืนได้คุ้มกับเงินลงทุน เพราะผู้อื่นสามารถลอกเลียนผลการวิจัยได้ นอกจากนั้นผลการวิจัยยังก่อให้เกิดประโยชน์กับส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนบุคคล ขณะที่งานวิจัยเป็นงานลงทุนสูง แต่เสี่ยงที่จะไม่ค้นพบอะไรเลย และเอกชนขาดบุคลากรที่มีความสามารถด้านวิจัยพัฒนา ด้วยเหตุผลเหล่านี้เอกชนจึงขาดแรงจูงใจที่จะลงทุนในการวิจัยและการพัฒนาในระดับที่สังคมปรารถนาที่รัฐจึงมีความจำเป็นต้องเข้าแทรกแซงหาหนทางสนับสนุนให้เอกชนเพิ่มการลงทุนในด้านวิจัยและพัฒนา
สาเหตุสำคัญที่ทำให้อุตสาหกรรมไทยมีการพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมต่ำ • ข) สาเหตุที่สอง: ความอ่อนแอของนโยบายและโครงสร้างของสถาบันการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม • ค) สาเหตุที่สาม: การพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมของไทยมีมาตรการและเครื่องมือส่งเสริมจำกัดมาก และเครื่องมือที่ใช้ได้ผลค่อนข้างน้อย เช่น มาตรการยกเว้นภาษีเงินได้ให้แก่โครงการลงทุนด้านวิจัยและพัฒนาของคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ปรากฏว่ามูลค่าการลงทุนของโครงการด้านวิจัยและพัฒนามีน้อยมาก (เพียงร้อยละ 0.09 ของการลงทุนทั้งหมดที่ได้รับบัตรส่งเสริม) นอกจากนั้นคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนยังมิได้วางกฎเกณฑ์เพื่อกระตุ้นให้เอกชนลงทุนด้านวิจัยและพัฒนาเพิ่มเติม (additional investment) จากโครงการลงทุนวิจัยและพัฒนาที่เอกชนตั้งใจจะทำอยู่แล้ว แต่ยังไม่มีการติดตามประเมินผลโครงการลงทุนเหล่านั้น
ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน • ภายหลังวิกฤติเศรษฐกิจ นโยบายพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของไทยได้หันมาให้ความสำคัญกับการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน เพื่อเป็นพื้นฐานของการพัฒนาเศรษฐกิจในระยะยาวมากขึ้น โดยเน้นให้ความสำคัญกับความสามารถทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • แผนพัฒนา ฯ ฉบับที่ 8-9 มุ่งเน้นการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ในทางปฏิบัติ ยังพบว่าความสามารถในการแข่งขันของประเทศทั้งในด้านภาพรวมและด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียังไม่เข้มแข็งและด้อยกว่าประเทศคู่แข่งมาก
สาเหตุของความล้มเหลวในการพัฒนา S&T ในไทย • การขาดความเชื่อมโยงในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ ทำให้การลงทุนมีลักษณะครอบคลุมทุกด้าน และขาดจุดเน้นในสาขาที่ประเทศมีศักยภาพสูง • การวิจัยและพัฒนาส่วนใหญ่ยังจำกัดอยู่ในมหาลัยและสถาบันวิจัยของภาครัฐ • การดำเนินงานของนักวิจัยและนักวิชาการต่าง ๆ ยังขาดการประสานเชื่อมโยงและร่วมมือกัน • ไม่มีการแลกเปลี่ยนและการไหลเวียนข้อมูลความรู้ระหว่างกัน จึงทำให้การลงทุนการวิจัยและพัฒนาไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่อยอดได้มากนัก
เป้าหมายที่กำหนดไว้ในภาคอุตสาหกรรมเป้าหมายที่กำหนดไว้ในภาคอุตสาหกรรม • อุตสาหกรรมอาหาร: เป็นผู้นำในการพัฒนานวัตกรรมอาหารเพื่อเป็นครัวของโลก • อุตสาหกรรมยานยนต์: เป็นฐานการผลิตยานยนต์พาณิชย์และจักรยานยนต์ของโลก • อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์: อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์มีขนาด 90,000 ล้านบาทต่อปี ภายในปี 2549 โดยมีมูลค่าสินค้าผลิตเพื่อส่งออกร้อยละ 75 ของมูลค่ารวมของอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ • อุตสาหกรรมไมโครชิป: ให้มีการผลิตตั้งแต่ระดับต้นน้ำ การออกแบบ และสามารถผลิตไมโครชิปชั้นสูงเพื่อใช้ในประเทศ • อุตสาหกรรมสิ่งทอ: เป็นศูนย์กลางสิ่งทอสำหรับตลาดคุณภาพสูงในเอเชียใต้และเอเชียอาคเนย์ • อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว: เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ โบราณคดี และวัฒนธรรม ติดอันดับ 1 ใน 3 ของเอเชีย • อุตสาหกรรมสุขภาพ: เป็นศูนย์กลางการบริการด้านการแพทย์และสุขภาพในเอเชีย • อุตสาหกรรมชีวภาพ: มีธุรกิจชีวภาพสมัยใหม่ที่สร้างรายได้ไม่น้อยกว่า 50,000 ล้านบาทต่อปี และเพิ่มประสิทธิภาพของเทคโนโลยีที่มีอยู่ให้สามารถลดต้นทุนได้ครึ่งหนึ่ง
เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส 1.พัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจ เศรษฐกิจชุมชน และคุณภาพชีวิต OTOP เทคโนโลยีหลัก Biotechnology Nanotechnology ICT Materials technology องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ Life science, physics chemistry math, computer science, material science 2.พัฒนากำลังคน 3.พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 4.สร้างความตระหนักด้าน S&T 5.ปรับระบบบริหารจัดการ กลยุทธ์การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทยตามกรอบแผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (พ.ศ.2547-56)