140 likes | 309 Views
แนวโน้ม ทิศทาง และยุทธศาสตร์การพัฒนาปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์ม. สถานการณ์การผลิตและการค้าน้ำมันปาล์มโลก ปี 2548/49-2553/54. สถานการณ์ความต้องการในน้ำมันปาล์มโลก. เนื้อที่ยืนต้น เนื้อที่ให้ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ปาล์มน้ำมันของไทย ปี 2549-2554. ราคาปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์ม ปี 2549-2554.
E N D
แนวโน้ม ทิศทาง และยุทธศาสตร์การพัฒนาปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์ม
สถานการณ์การผลิตและการค้าน้ำมันปาล์มโลก ปี 2548/49-2553/54
สถานการณ์ความต้องการในน้ำมันปาล์มโลกสถานการณ์ความต้องการในน้ำมันปาล์มโลก
เนื้อที่ยืนต้น เนื้อที่ให้ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ปาล์มน้ำมันของไทย ปี 2549-2554
ราคาปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์ม ปี 2549-2554
สัดส่วนความต้องการใช้น้ำมันปาล์มในประเทศสัดส่วนความต้องการใช้น้ำมันปาล์มในประเทศ ส่งออก 7% ไบโอดีเซล 30% บริโภค 63%
การเปิดการค้าเสรีปาล์มน้ำมันการเปิดการค้าเสรีปาล์มน้ำมัน ภายใต้เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) • ต้องลดภาษีเหลือ 0 % ในปี 2553 • (ยกเว้น เมล็ดกาแฟ มันฝรั่ง ไม้ตัดดอก • เนื้อมะพร้าวแห้ง ภาษีเหลือ 5%) • ต้องยกเลิกโควตาในปี 2553
ผลกระทบจากการเปิดตลาดอาเซียน (AFTA) ประเทศอินโดนีเซีย และมาเลเซีย ซึ่งเป็นประเทศสมาชิกอาเซียน มีศักยภาพการผลิตน้ำมันปาล์มสูงกว่าไทย ต้นทุนการแปรรูปของไทยสูงกว่ามาเลเซียและอินโดนีเซีย ส่งผลให้ราคาในประเทศสูง หากมีการนำเข้าน้ำมันปาล์มบริสุทธ์จะทำให้อุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์มได้รับผลกระทบ
ราคาขายส่งปาล์มน้ำมันเปรียบเทียบไทย-มาเลเซีย เฉลี่ยปี 2550-2554
แนวทางรองรับการเปิดเสรีปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์ม(บทบาทภาครัฐ)แนวทางรองรับการเปิดเสรีปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์ม(บทบาทภาครัฐ) • ขั้นที่ 1 : บริหารการนำเข้า ณ ด่านศุลกากร (องค์การคลังสินค้าเป็นผู้นำเข้า / กำหนดระยะเวลาการนำเข้า /นำเข้าเพื่อการบริโภค) • ขั้นที่ 2 : เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน (เพื่อปรับโครงสร้างการผลิตเพื่อให้สามารถแข่งขันได้โดยใช้เงินสนับสนุนจากกองทุน FTA กษ.) • ขั้นที่ 3: ใช้มาตรการปกป้องพิเศษ (เพื่อระงับผลกระทบชั่วคราว โดย กรมศุลกากร กรมการค้าต่างประเทศ แล ะสศก. ติดตามและเฝ้าระวังการนำเข้า หากนำเข้าผิดปกติให้เสนอคณะกรรมการฯ ที่ดูแลสินค้า 23 รายการพิจารณาการเก็บค่าธรรมเนียมปกป้อง => แจ้ง พณ. และ ก. คลัง => เสนอครม. เพื่อเก็บค่าธรรมเนียมปกป้อง)
แผนพัฒนาอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์ม ปี 2551-2555 เป้าหมาย ปลูกปาล์มน้ำมันในพื้นที่เหมาะสม 2.50 ล้านไร่ ปลูกทดแทนสวนเก่า 0.50 ล้านไร่ เพิ่มผลผลิตจาก 3.0 ตัน/ไร่ต่อปี เป็น 3.50 ตัน/ไร่/ปี อัตราน้ำมันจากร้อยละ 17 เป็น ร้อยละ 18.5 5 ยุทธศาสตร์ 1. ยุทธศาสตร์เพิ่มผลิตภาพและคุณค่าผลปาล์มน้ำมันและผลิตภัณฑ์ 2. ยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการตลาด 3. ยุทธศาสตร์การใช้พลังงานทดแทน 4. ยุทธศาสตร์การวิจัยและพัฒนาบุคลากร 5. ยุทธศาสตร์การบริหารและการจัดการ
แนวโน้มในอนาคต และการพัฒนา แนวโน้ม ปาล์มน้ำมัน เป็นพืชที่มีอนาคต มีแนวโน้มของความต้องการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีอุตสาหกรรมต่อเนื่องหลายประเภทรองรับ อาทิ อุตสาหกรรมเพื่อการบริโภคในรูปน้ำมันพืช อุตสาหกรรมสบู่ อาหารว่าง ขนมขบเคี้ยว บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป รวมทั้ง ไบโอดีเซล ฯลฯ เผชิญกับภาวะการแข่งขันที่รุนแรงเพิ่มมากขึ้นจากการเปิดเสรีทางการค้า
แนวทางการพัฒนา ระยะสั้น เร่งถ่ายทอดความรู้ และเทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสมให้เกษตรกร พัฒนาพื้นที่ปลูกปาล์มเดิมให้มีศักยภาพเพิ่มขึ้น เช่น การปลูกต้นปาล์มพันธุ์ดีทดแทนสวนเก่า ระยะยาว เพิ่มประสิทธิภาพการสกัดน้ำมันปาล์มดิบโดยการพัฒนาพันธุ์ปาล์ม เพิ่มประสิทธิภาพเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวและการดูแลรักษา การเพิ่มคุณภาพดินให้มีความเหมาะสม
แนวทางการพัฒนา (ต่อ) ระยะยาว (ต่อ) แนวทางการประกันรายได้ของปาล์มน้ำมันที่มีคุณภาพดีเช่นเดียวกับข้าว การจัดตั้งกองทุนปาล์มน้ำมันเช่นเดียวกับกองทุนยางพารา