330 likes | 466 Views
หนึ่งปี 3G ราคาค่าโทรเปลี่ยนไปอย่างไร?. พรเทพ เบญญาอภิกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โครงการติดตามนโยบายสื่อและโทรคมนาคม. กสทช. ประกาศลดราคา 3G ลง 15%. อัตราอ้างอิงที่ กสทช. กำหนด. ค่าโทรศัพท์ จากนาทีละ 0. 97 บาท เหลือ 0. 82 บาท
E N D
หนึ่งปี 3Gราคาค่าโทรเปลี่ยนไปอย่างไร? พรเทพ เบญญาอภิกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โครงการติดตามนโยบายสื่อและโทรคมนาคม
อัตราอ้างอิงที่ กสทช. กำหนด • ค่าโทรศัพท์ จากนาทีละ 0.97 บาท เหลือ 0.82 บาท • เอสเอ็มเอส จากข้อความละ 1.56 บาท เหลือ 1.33 บาท • เอ็มเอ็มเอส จากครั้งละ 3.90 บาทเหลือ 3.32 บาท • อินเตอร์เน็ตต่อ 1 เมกะไบต์ จาก 0.33 บาท เหลือ 0.28 บาท
อัตราอ้างอิงรายประเภทบริการไม่สอดคล้องกับสภาพความจริงที่บริการถูกผูกรวมเป็นแพคเกจอัตราอ้างอิงรายประเภทบริการไม่สอดคล้องกับสภาพความจริงที่บริการถูกผูกรวมเป็นแพคเกจ • แพคเกจไหนบ้างที่ราคาเป็นไปตามราคาอ้างอิง กสทช.? • กสทช. ตรวจสอบได้อย่างไร?
ปัญหาการลดราคา 3G • บริการขายพ่วงเป็นแพคเกจ แต่ราคาอ้างอิงเป็นรายประเภท ทำให้ตรวจสอบยาก • แพคเกจบางแพคเกจราคาต่ำกว่าราคาอ้างอิงอยู่แล้ว ทำให้ราคาไม่ลดลง • เป็นไปได้ที่แพคเกจที่คนใช้งานมาก ราคาอาจจะลดไม่มาก ผู้ประกอบการรายได้ไม่ลดลง คนส่วนใหญ่ไม่ได้จ่ายลดลง
วิธีการวัดการเปลี่ยนแปลงราคาวิธีการวัดการเปลี่ยนแปลงราคา • ต้องสอดคล้องกับลักษณะการใช้งานของผู้บริโภค ที่ใช้บริการหลากหลายประเภท ทั้งเสียง และข้อมูล • ต้องสอดคล้องกับลักษณะของสินค้าที่ซื้อขาย กล่าวคือต้อง ใช้วัดการเปลี่ยนแปลงราคาของแพคเกจที่นำเสนอได้
การสร้างตะกร้าราคา • สร้างลักษณะการใช้บริการที่หลากหลายสอดคล้องกับพฤติกรรมผู้บริโภค • โทรน้อย เน็ตมาก • โทรปานกลาง เน็ตน้อย • โทรมาก เน็ตปานกลาง • … • … • … • เรียกปริมาณการใช้แบบต่าง ๆ ที่ศึกษา ว่า “ตะกร้าราคา”
ตะกร้าราคา หรือ พฤติกรรมการใช้งาน 24 ประเภท • แสดงลักษณะการใช้งานเสียงและข้อมูล เป็นตัวแทนของผู้บริโภคกลุ่มต่าง ๆ • คนกลุ่มต่าง ๆ เหล่านี้ จ่ายค่าบริการรายเดือนลดลงเท่าไรเมื่อใช้บริการ 3G?
การคำนวณ • แพคเกจรายเดือนของผู้ประกอบการแต่ละราย • แพคเกจ2G ใช้เดือนพฤษภาคม 2556 เป็นฐาน • ในแต่ละรูปแบบการใช้ สมมติให้ผู้บริโภคสามารถเลือกแพคเกจที่เหมาะสม กล่าวคือราคาถูกที่สุดตามการใช้งานได้ (full rationality) • หากปริมาณการใช้งานมากกว่าแพคเกจกำหนด ส่วนที่เกินคิดราคาตามอัตราค่าใช้บริการเกินแพคเกจ • กรณีอินเตอร์เน็ตแบบ unlimited ให้ใช้ปริมาณข้อมูลที่ได้ความเร็วสูงสุดมาคำนวณเท่านั้น
ข้อมูลแพคเกจ 2G พ.ค. 56 ที่ใช้
เทียบราคาระหว่าง พค. 56 และมิย. 56 (เดือนแรกของการประกาศลดราคา)
ราคาลดลงเฉลี่ยแต่ละตะกร้าในมิ.ย.56 ของ AIS เฉลี่ยทั้ง 24 ตะกร้า ราคาเปลี่ยนแปลง = -7.8%
ราคาลดลงเฉลี่ยแต่ละตะกร้าในมิ.ย.56 ของ TRUE เฉลี่ยทั้ง 24 ตะกร้า ราคาเปลี่ยนแปลง = -12.2%
ราคาลดลงเฉลี่ยแต่ละตะกร้าในมิ.ย.56 ของ DTAC เฉลี่ยทั้ง 24 ตะกร้า ราคาเปลี่ยนแปลง = -18.6%
ข้อค้นพบ 1. ราคาโดยเฉลี่ยยังลดลงไม่ถึง 15% 2. ราคาค่าบริการที่ลดลงมากเป็นตะกร้าที่ไม่ค่อยมีผู้บริโภคเลือก บริการมากนัก 3. การคิดค่าโทรเกินแพ็คเกจยังสูงกว่าอัตราขั้นสูงที่ กสทช. กำหนด และยังไม่ได้ลดลงเมื่อเทียบกับ 2G
ข้อสรุป 1. ราคาโดยเฉลี่ยยังลดลงไม่ถึง 15%
ภาพรวมการลดราคา (เปรียบเทียบกับ พ.ค. 2556)
คิดค่าเฉลี่ยของ 2 ค่าที่ต่ำที่สุดช่วง 3G(Bounded rationality)
ข้อสรุป 1. ราคาโดยเฉลี่ยยังลดลงไม่ถึง 15% 2. ราคาค่าบริการที่ลดลงมากเป็นตะกร้าที่ไม่ค่อยมีผู้บริโภคเลือก บริการมากนัก
ราคาลดลงเฉลี่ยแต่ละตะกร้าในมิ.ย.57 ของ TRUE
ราคาลดลงเฉลี่ยแต่ละตะกร้าในมิ.ย.57 ของ DTAC
คิดค่าเฉลี่ยของ 2 ค่าที่ต่ำที่สุดช่วง 3G(Bounded rationality)
ราคาลดลงเฉลี่ยแต่ละตะกร้าในมิ.ย.56 ของ TRUE
ราคาลดลงเฉลี่ยแต่ละตะกร้าในมิ.ย.56 ของ DTAC
ราคาลดลงเฉลี่ยแต่ละตะกร้าในมิ.ย.57 ของ TRUE
ราคาลดลงเฉลี่ยแต่ละตะกร้าในมิ.ย.57 ของ DTAC
ข้อสรุป 1. ราคาโดยเฉลี่ยยังลดลงไม่ถึง 15% 2. ราคาค่าบริการที่ลดลงมากเป็นตะกร้าที่ไม่ค่อยมีผู้บริโภคเลือก บริการมากนัก 3. การคิดค่าโทรเกินแพ็คเกจยังสูงกว่าอัตราขั้นสูงที่ กสทช. กำหนด และยังไม่ได้ลดลงเมื่อเทียบกับ 2G