400 likes | 1.01k Views
โครงการอาหารปลอดภัยปลอดโรคในโรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ณ ห้องประชุมอุดรดุษฎีโรงแรมเจริญโฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี. นางจงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข Email: foodsafety@moph.mail.go.th www.foodsafetythailand.net.
E N D
โครงการอาหารปลอดภัยปลอดโรคในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กณ ห้องประชุมอุดรดุษฎีโรงแรมเจริญโฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี นางจงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข Email: foodsafety@moph.mail.go.th www.foodsafetythailand.net
การอบรมพัฒนาศักยภาพโครงการอาหารปลอดภัยปลอดโรคในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กการอบรมพัฒนาศักยภาพโครงการอาหารปลอดภัยปลอดโรคในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วันที่ 22 พฤษภาคม 2556 เวลา 10.30 น.-12.00 น. • อภิปรายแนวทางการดำเนินงานอาหารปลอดภัยปลอดโรค ในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดย นางจงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย
ปี 2555-2558 นโยบายอาหารปลอดภัย ส่งเสริมครัวไทยเป็นครัวโลก 1 ระบบ แผนบูรณา การ 2 ระบบ ตรวจสอบ เฝ้าระวังป้องกัน ความปลอดภัย 3 ระบบ ควบคุมมาตรฐานของสถานที่และแหล่งผลิต 5 ระบบ จัดการอุบัติ การณ์ 4 ระบบ ข้อมูล สื่อสาร 6 ระบบ รางวัล มาตรการแผนงาน แนวทาง THAILAND เกษตร,ท้องถิ่น, ชุมชน แหล่งผลิต, ฟาร์ม ต้นน้ำ 1 2 3 4 5 6 GAP, Organics เกษตร อย., สสจ. แปรรูปเกษคร , โรงงานอุตสาหกรรม , OTOP ยุทธศาสตร์ กลางน้ำ พัฒนาอาหารปลอดภัย ท้องถิ่น, กรมอนามัย,กรมวิทย์, สป.โรงพยาบาลทุกแห่ง ปลายน้ำ แหล่งจำหน่าย, โรงพยาบาล 1.บูรณาการ 2.เชื่อมโยง 3.เครือข่าย 4.ถ่ายทอดข้อมูล ครัว-อาหาร ปลอดภัย เพื่อคนไทย และสังคมโลก โรงเรียนอาหารปลอดภัย ผู้นำ อาเซียน ประชาชนปลอดภัย เกษตรกรไทยมั่นคง
สถานการณ์ โรคอาหารเป็นพิษ ปี 2550-2544 ในเด็กเล็ก (0-4) และนักเรียน 5-14 ปี มีเหตุการณ์โรคอาหารเป็นพิษมากที่สุดเมื่อเทียบกับวัยอื่น ภาพที่ 1 รายงานสถานการณ์โรคอาหารเป็นพิษแยกตามกลุ่มอายุ • โรคอุจจาระร่วง ปี 2555 ป่วย 1,013,225 ราย(อัตราป่วย 1595.00 ต่อแสน ประชากร) เสียชีวิต 37 ราย(อัตราตาย 0.06 ต่อแสนประชากร)
ผลกระทบที่เกิดขึ้น มีผลกระทบต่อสุขภาพ และการเจริญเติบโตของเด็ก มีผลกระทบต่อการเรียน และพัฒนาการของเด็ก มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจ (เพิ่มค่าใช้จ่ายของผู้ปกครอง การแพทย์และสาธารณสุข) ลดประสิทธิภาพการทำงานผู้ปกครอง
นโยบายรัฐบาลและกระทรวงสาธารณสุขนโยบายรัฐบาลและกระทรวงสาธารณสุข ยุทธศาสตร์ประเทศ ข้อ ๑.๒.๒ ลดความเหลื่อมล้ำ-การดูแลเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และ ผู้ด้อยโอกาส ข้อ 4.3.3 จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมีเป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย ตาย โดยลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ จัดให้มีการสื่อสารสาธารณะของรัฐเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ให้ความรู้ป้องกันโรคเพื่อการดูแลรักษาสุขภาพตนเองของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน การให้บริการเชิงรุก ตลอดจนคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พัฒนาอาหารปลอดภัย ลดโรค ควบคุม ป้องกัน เฝ้าระวังโรค ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน นโยบายลดอุบัติการณ์อาหารเป็นพิษ / อุจจาระร่วงของนักเรียน และ เด็กเล็ก
เป้าหมาย/ผลลัพธ์ ในโครงการอาหารปลอดภัยปลอดโรคในโรงเรียนและ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกจังหวัด Target group ได้รับประทานอาหารที่สะอาดปลอดภัย ลดโรคอาหารเป็นพิษ และควบคุมการระบาดของโรคอาหารเป็นพิษและอุจจาระร่วง ปี 59 ปี 58 Target group : 100% ของ รร. และ ศพด. จำนวน 50,870 แห่ง ปี 57 เป้าหมาย : เพื่อให้โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีอาหารปลอดภัย และไม่มีเหตุการณ์ระบาดของโรคอาหารเป็นพิษและโรคอุจจาระร่วง ปี 56 Outcome : ลดผลกระทบต่อสุขภาพ และเศรษฐกิจ • ผลักดันการดำเนินงานทุกระดับแบบ co-owner (ประเทศ, จังหวัด, รร./ศพด.) • คัดเลือกจังหวัด/รร./ศพด. จำนวน ๙ จังหวัดเพื่อร่วมกันพัฒนาต้นแบบ • ตรวจราชการบูรณาการ ในปี 57-59 KSF
ปฏิทินบูรณาการสาธารณสุข-ศึกษาธิการ-มหาดไทย โครงการอาหารปลอดภัยปลอดโรคในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปีที่ ๑ / 2556 สรุปประเมินผลโครงการทั่วประเทศ ปีที่ ๑
เชื่อมโยงระบบการควบคุมอาหารและอาหารปลอดภัยเชื่อมโยงระบบการควบคุมอาหารและอาหารปลอดภัย มาตรฐานและการคุ้มครองผู้บริโภค ระบาดวิทยา เฝ้าระวัง สอบสวนอุบัติการณ์อาหารเป็นพิษ การประเมินความเสี่ยง/การสื่อสารภายในและระหว่างประเทศ/จัดการอาหารปลอดภัยระดับจังหวัดบูรราการ Risk Assessment Hazardous / Toxin/Microbial Contamination Risk Management Risk Communication Incident Management Food Safety Emergency Response Plan (FSER+FRRT = Food Safety Rapid Response Team) at the community Standards, Control, Legislation, Pre and Post marketing, labeling, Registration, Surveillance, Monitoring, -Food and water borne diseases -Outbreaks -Food poisoning -Public Heath Emergency Response (PHER + SRRT)
ระดับประเทศ(ส่วนกลาง) วิธีการดำเนินโครงการ 1. นโยบาย 1.1 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขขอความร่วมมือไปยัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ และผู้ว่าราชการจังหวัดทั่วประเทศ (ยกเว้น กทม.) 1.2 ปลัดกระทรวงสาธารณสุขแจ้งไปยังสำนักงานสาธารณสุข จังหวัดทั่วประเทศให้ร่วมดำเนินโครงการตามนโยบายรัฐบาล 1.3 ได้สำเนาหนังสือ 1 และ 2 แจ้งผู้เกี่ยวข้องเพื่อทราบและใช้ เป็นนโยบายการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2556 – 2559
หนังสือขอความร่วมมือระหว่าง กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ และจังหวัด
ระดับประเทศ(ส่วนกลาง) 2. คณะกรรมการ กระทรวงสาธารณสุขได้มอบหมายให้สำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัยเป็นเจ้าภาพการดำเนินงานบูรณาการในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยประสานความร่วมมือระหว่างจังหวัด กรม และกระทรวง ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงานดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีการวางแผน ส่งเสริม สนับสนุน ประเมินผลการดำเนินการดำเนินงานให้สอดคล้องกับนโยบายด้านอาหารปลอดภัย และบรรลุเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข ตามคำสั่งสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ 211/2556
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
ระดับประเทศ(ส่วนกลาง) 3. มีวิธีการดำเนินงานดังนี้ : - มีการประชุมจังหวัดที่ได้รับการคัดเลือกในการพัฒนารูปแบบ วันที่ 7 ก.พ. 56 และให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการ และ วิธีการดำเนินโครงการ - เชิญจังหวัดที่ได้รับการคัดเลือกในการพัฒนารูปแบบทั้ง ๙ จังหวัด มาประชุม วันที่ 2 - ๔ เม.ย. 2556 - นิเทศ ติดตามผลการดำเนินงาน - จัดทำฐานข้อมูลการบริหารจัดการอาหารปลอดภัยปลอดโรค ของโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก - จัดทำโครงการประเมินผล และสรุปรายงานเสนอรัฐมนตรี ๓ กระทรวง และ รายงานผลงานรัฐบาล
ระดับจังหวัด 1. ประกาศนโยบายการดำเนินงานอาหารปลอดภัยปลอดโรคในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในจังหวัด เพื่อพัฒนากลไกและระบบบริหารจัดการ 2. ตั้งคณะกรรมการอาหารปลอดภัยปลอดโรคในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กระดับจังหวัด - ดำเนินกิจกรรมและบริหารจัดการภายในโรงเรียน และศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก - โรงเรียน/องค์กรท้องถิ่นตั้งคณะกรรมการตรวจสอบคุณภาพ อาหารที่จัดเตรียมให้นักเรียน /เด็กเล็ก โดยการมีส่วนร่วม ของครู ผู้ปกครอง และนักเรียน - แนะนำ ตรวจมาตรฐานโรงครัว (ทั้งครัวในและครัวนอก) / โรงอาหาร และผู้ปรุงอาหาร
ระดับจังหวัด มีวิธีการดำเนินงาน - จัดอบรมผู้ที่เกี่ยวข้อง (โรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป้าหมาย - จัดทำแผนปฏิบัติการ และสุ่มตรวจตัวอย่างอาหาร 5 ชนิด ได้แก่ เนื้อสัตว์ ไข่ นม ผัก น้ำบริโภค - มีการวิเคราะห์ข้อมูลการลดเหตุการณ์อาหารเป็นพิษ และโรคอุจจาระร่วงในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็ก เล็ก - มีการรายงานผลการดำเนินงาน
ระดับพื้นที่ (โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) มีนโยบายการดำเนินงานอาหารปลอดภัยปลอดโรคในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในระดับจังหวัด เพื่อทำหน้าที่สร้างระบบบริหารจัดการ มีคณะกรรมการดำเนินงาน-ตรวจคุณภาพอาหารแบบมีส่วนร่วมจากผู้ปกครองและนักเรียน มีวิธีการดำเนินงาน - มีทะเบียนจัดเก็บข้อมูลเพื่อสร้างและดำเนินการระบบอาหารปลอดภัยปลอดโรคเพื่อลดโรคอาหารเป็นพิษ โรคอุจจาระร่วง รวมทั้งการจัดหาวัตถุดิบที่สะอาดปลอดภัย วิธีการปรุงที่เหมาะสม - มีระบบการรายงานไปที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเมื่อเกิดอุบัติการณ์อาหารเป็นพิษ - มีการวิเคราะห์สภาพโครงสร้างของโรงครัวในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และวิเคราะห์ความก้าวหน้าของระบบ
การอบรมพัฒนาศักยภาพ โครงการอาหารปลอดภัยปลอดโรค ในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วันที่ 23 พฤษภาคม 2556 เวลา 13.00 น. - 15.00 น. • ระบบรายงาน การติดตาม และประเมินผลสำเร็จของโครงการ โดย นางจงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย
โรคอาหารเป็นพิษ หมายถึง อาการป่วยที่เกิดจากการกินอาหารหรือน้ำที่ปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส พยาธิ ตลอดจนการปนเปื้อนของพิษจากพืช (เช่น เห็ดพิษ สบู่ดำ มะกล่ำ) หรือสัตว์บางชนิด (เช่นปลาปักเป้า แมงดาทะเล ปลาทะเลบางชนิด คางคก และหนอน แมลง) ยกเว้น พิษที่เกิดจากยา/โลหะหนัก/สารเคมีกำจัดศัตรูพืช • โรคอุจจาระร่วง หมายถึง การพบผู้ป่วยถ่ายเหลวตั้งแต่ ๓ ครั้งขึ้นไปต่อวัน หรือถ่ายเป็นน้ำ หรือถ่ายมีมูกเลือดปน หรือถ่ายมีเลือดปน อย่างน้อย ๑ ครั้งต่อวัน (อ้างอิงจาก WHO) • การระบาดของโรคอาหารเป็นพิษ / โรคอุจจาระร่วง หมายถึง การพบผู้ป่วยที่มีอาการ อาเจียน หรือถ่ายเหลวอย่างน้อยจำนวน ๒ คนขึ้นไป ที่มีความเชื่อมโยงทางระบาดวิทยา เช่น มีการรับประทานอาหารหรือน้ำร่วมกัน (อ้างอิงจาก CDC) คำจำกัดความ
สรุปรายงานเสนอผู้บริหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสรุปรายงานเสนอผู้บริหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เสร็จสิ้น การแจ้งและตรวจสอบการพบโรคและเหตุการณ์ผิดปกติ : กรณีโรคที่มีอาหารและน้ำเป็นสื่อ หรือด้านความปลอดภัยอาหาร โรงเรียน / ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พบผู้ป่วยโรคอาหารเป็นพิษ / อุจจาระร่วง /เหตุการณ์ผิดปกติในโรงเรียน หรือ ศูนย์เด็กเล็ก แจ้งผู้ปกครอง รพ.สต. แจ้งเจ้าหน้าที่รพ.สต. โดยตรง และ / หรือ แจ้งอสม. ในเขตรับผิดชอบ เพื่อแจ้งต่อ รพ.สต. แจ้งศูนย์ระดับอำเภอเพื่อตรวจประเมิน เตรียม สนับสนุนพื้นที่ เจ้าหน้าที่รพ.สต. 1. บันทึก และตรวจสอบข้อมูลและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 2. ประเมินเบื้องต้น ว่ามีเหตุการณ์เกิดขึ้นจริงในพื้นที่ และมีการแพร่ระบาดหรือส่งผลกระทบได้ รพ.สต. (SRRT ตำบล) แจ้งศูนย์ระดับจังหวัดเพื่อตรวจประเมิน เตรียม สนับสนุนพื้นที่ ไม่ใช่ เป็นโรค / เหตุการณ์ที่ต้องสอบสวนและรายงานหรือไม่ รพ.สต. / เครือข่ายพื้นที่ (SRRT ตำบล) ใช่ เจ้าหน้าที่รพ.สต . และ เครือข่าย 1. สอบสวนข้อมูลและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 2. รายงานระบาด /สถานการณ์ที่เกิดขึ้น 3. ประสานสนับสนุนทรัพยากรร่วมมือปฏิบัติการ 4. ติดตามผลการดำเนินงาน รายงานส่วนกลาง -กรมคร. / สสอป.
ตารางที่ 1ทะเบียนรายชื่อผู้ประสานงานเมื่อเกิดเหตุการณ์โรคที่มีอาหารและน้ำเป็นสื่อของโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตารางที่ 2แบบบันทึกเหตุการณ์โรคที่มีอาหารและน้ำเป็นสื่อของโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก(สำหรับการติดตามนิเทศงาน)
ระบบรายงานผลส่งส่วนกลางระบบรายงานผลส่งส่วนกลาง (สสอป) Email : foodsafety@moph.mail.go.th
แบบรายงานต่างๆที่ต้องส่งส่วนกลางแบบรายงานต่างๆที่ต้องส่งส่วนกลาง • รายงานผลการดำเนินงานตามฟอร์ม KPI/FP 56 • รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนงานที่กำหนด • รายงานบันทึกเหตุการณ์ระบาดโรคอาหารเป็นพิษหรืออุจจาระร่วง • รายงานการสุ่มตรวจตัวอย่างอาหาร (ดาวน์โหลดได้ทาง www.foodsafetythailand.net)
ระบบการติดตาม ประเมินผลสำเร็จ จากส่วนกลาง
การติดตาม และประเมินผลสำเร็จ • ทีมนิเทศ ติดตาม เฉพาะ ๙ จังหวัดนำร่อง ในช่วงเดือน มิย.- กค. • ทีมประเมินผล โดยคณะผู้วิจัยจากภายนอก ร่วมกับ สสอป. • ประเมินผลผลิต ผลลัพธ์ และผลสัมฤทธิ์ ตามตัวชี้วัดและเป้าหมาย • ประเมินความเหมาะสมของวิธีการดำเนินงานของจังหวัด และผู้มีส่วนร่วมของที่เอื้อต่อความสำเร็จของโครงการ ปัญหาและอุปสรรค • ประเมินประโยชน์ด้านประสิทธิภาพและความคุ้มค่าของโครงการและการใช้ทรัพยากร (เครื่องมือ อุปกรณ์ รถโมบาย งบประมาณ) และบุคลากร (บุคลากรสาธารณสุข จนท.ท้องถิ่น สพฐ. และผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการของ โรงเรียน/ศพด) • ประเมินผลกระทบเชิงสังคม ผลกระทบด้านนโยบาย ผลกระทบด้านจิตใจและการพัฒนาของผู้รับบริการ (นักเรียน เด็กเล็ก ผู้ปกครอง ผู้ขายอาหาร ผู้ประกอบอาหารให้โรงเรียน/ศพด.)
ร่างกำหนดการนิเทศติดตามโครงการอาหารปลอดภัยปลอดโรคในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจากคณะทำงานส่วนกลาง กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 1 9.00- 10.00 น.- พบผู้บริหารจังหวัด 10.00 – 12.00 น. - รับฟังการนำเสนอผลการดำเนินงานของ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 12.00 – 13.00 น. - รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 16.30 น. - เยี่ยมพื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกลุ่มเป้าหมาย
วันที่ 2 9.00 – 12.00 น. - เยี่ยมโรงเรียนประถมศึกษากลุ่มเป้าหมาย - เยี่ยมโรงเรียนขยายโอกาสกลุ่มเป้าหมาย 12.00 – 13.00 น. - รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 16.30 น. - เยี่ยมโรงเรียนมัธยมศึกษากลุ่มเป้าหมาย วันที่ 3 9.00 – 12.00 น. - สรุปผลการดูงาน(คณะทำงาน)
ผู้เกี่ยวข้องที่ขอเชิญเข้าร่วมผู้เกี่ยวข้องที่ขอเชิญเข้าร่วม • โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก • ผู้บริหารโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก • ครูห้องพยาบาลของโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก • ครูที่รับผิดชอบโครงการอาหารปลอดภัยฯของโรงเรียน/ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก • องค์การปกครองท้องถิ่น • องค์การปกครองท้องถิ่นที่รับผิดชอบ • ฝ่ายสาธารณสุขสิ่งแวดล้อม
ข้อกำหนดตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR 2005) กฎหมายและนโยบาย (Legislation and Policy) การประสานความร่วมมือ (Coordination) การเฝ้าระวังสอบสวนโรค (Surveillance) การตอบโต้ (Response) การเตรียมความพร้อม (Preparedness) การสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communication) การพัฒนาศักยภาพของบุคคลากร (Human Resources) สมรรถนะของห้องปฏิบัติการ (Laboratory) www.themegallery.com
Food Safety System / Framework Provincial Level Organization Level สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กลุ่มงานอาหารปลอดภัย?? Individual Level ระดับบุคคล วิเคราะห์มิติความสามารถการดำเนินงานในระดับต่างๆของจังหวัด Socio-economic and political environment Trade Policy / market environment From farm to table Regional Health Centers -ศูนย์อนามัย -ศูนย์ควบคุมโรค -ศูนย์วิทย์ -กระทรวง -กรม Education Governance Local Authorities
งบประมาณ ปี ๒๕๕๗ กิจกรรมพัฒนาอาหารปลอดภัย รวม ๑๒๒.๐๔๓๒๒๐ ล้านบาท (๑) สสอป. ๑๖.๙๒๙๐๒๐ ล้านบาท (๒) สสจ. ๗๖ จังหวัด ๘๐.๙๑๖๒๐๐ ล้านบาท (๓) หน่วยตรวจสอบเคลื่อนที่ ๒๔.๑๙๘๐๐๐ ล้านบาท