1 / 15

ผู้มีหน้าที่จัดทำรายงาน ส่วนราชการที่มีเงินรายได้ที่ไม่ต้องนำส่งเป็น รายได้แผ่นดิน ดังนี้ 1) เงินช่วยเหลือจากต่างปร

แนวทางการปฏิบัติงานการรายงานการรับและการใช้จ่ายเงิน ที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน ตามแนวทางปฏิบัติตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 170.

sanford
Download Presentation

ผู้มีหน้าที่จัดทำรายงาน ส่วนราชการที่มีเงินรายได้ที่ไม่ต้องนำส่งเป็น รายได้แผ่นดิน ดังนี้ 1) เงินช่วยเหลือจากต่างปร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการปฏิบัติงานการรายงานการรับและการใช้จ่ายเงินที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดินตามแนวทางปฏิบัติตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 170

  2. คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2551 เห็นชอบแนวทางปฏิบัติตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2550 มาตรา 170 ระบุว่า “เงินรายได้ของหน่วยงานของรัฐใดที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดินให้หน่วยงานของรัฐนั้นทำรายงานการรับและการใช้จ่ายเงินดังกล่าว เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเมื่อสิ้นปีงบประมาณทุกปี และให้คณะรัฐมนตรีทำรายงานเสนอสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาต่อไป”

  3. ผู้มีหน้าที่จัดทำรายงาน ส่วนราชการที่มีเงินรายได้ที่ไม่ต้องนำส่งเป็น รายได้แผ่นดิน ดังนี้ 1) เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ 2) เงินบริจาค/เงินอุดหนุน 3) เงินรายรับสถานศึกษา 4) เงินรายรับสถานพยาบาล 5) เงินบูรณะทรัพย์สิน 6) เงินฝากค่าใช้จ่ายเก็บภาษีท้องถิ่น 7) เงินรายได้จากการดำเนินงาน 8)เงินประกันสัญญา/เงินมัดจำ

  4. ผู้มีหน้าที่จัดทำรายงาน ส่วนราชการที่มีเงินรายได้ที่ไม่ต้องนำส่งเป็น รายได้แผ่นดิน ดังนี้ 9) เงินดอกเบี้ยกลางศาล/ค่าธรรมเนียมศาล/ค่าธรรมเนียมในการบังคับคดี 10) เงินกู้ 11) เงินท้องถิ่น 12) เงินผลพลอยได้ 13) เงินเพื่อประโยชน์การศึกษา 14) เงินสินบนรางวัล 15) เงินฝากต่าง ๆ 16) เงินรับฝากเพื่อรอจัดสรร/ถอนคืน 17)เงินนอกงบประมาณตามวัตถุประสงค์อื่น

  5. ขั้นตอนการจัดทำรายงานการรับ-จ่ายเงินและเงินคงเหลือ 1. ตรวจสอบประเภทเงินฝากเงินที่ต้องจัดทำรายงาน 2. เรียกรายงานเคลื่อนไหวเงินฝากคลัง ตรวจสอบกับทะเบียนคุม 3. รวบรวมข้อมูลการเงิน 2 รอบปีบัญชี 4. รายงานการรับ-จ่ายเงินและเงินคงเหลือเป็นรายงานที่แสดงผล การรับและการใช้จ่ายเงินโดยใช้เกณฑ์เงินสด

  6. ขั้นตอนการจัดทำรายงานการรับ-จ่ายเงินและเงินคงเหลือ (ต่อ) 5. ทำการเปรียบเทียบรายการเป็นรายบรรทัด ระหว่าง ปี“25XX” กับ ปี “25XX” ว่ารายการปีที่รายงานเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือ ลดลงจากปีก่อนคิดเป็นร้อยละเท่าใด 6. วิเคราะห์ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลง ในรายการที่ เป็นประเด็นสาระสำคัญ ว่า เกิดจากผลการดำเนินงานหรือ การบริหารงานเป็นอย่างไร มีปัจจัยใดที่ส่งผลต่อ การเปลี่ยนแปลง 7. สรุปผลการประเมินการบริหารและการดำเนินงาน

  7. ตัวอย่างการวิเคราะห์รายงานการรับ-จ่ายเงินและเงินคงเหลือตัวอย่างการวิเคราะห์รายงานการรับ-จ่ายเงินและเงินคงเหลือ จะเห็นว่า รายรับรวมในปี 2551 เพิ่มสูงขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา คิดเป็นร้อยละ 49.68 และรายจ่ายรวมในปี 2551 เพิ่มสูงขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา คิดเป็นร้อยละ 47.66 โดยเฉพาะอย่างยิ่งรายจ่ายค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างเพิ่มขึ้นสูงสุด คิดเป็นร้อยละ 133.33 ประกอบด้วยรายการครุภัณฑ์ และรายจ่ายด้านบุคลากรเพิ่มขึ้น คิดเป็น ร้อยละ 68.75 เนื่องจากรัฐบาลได้ปรับอัตราค่าจ้างลูกจ้างเพิ่มขึ้น ในขณะที่รายจ่ายจากการดำเนินงานลดลงร้อยละ 16.67 เนื่องจากมาตรการประหยัดรายจ่ายภาครัฐ โดยมีรายรับสูงกว่ารายจ่ายสุทธิ จำนวน 24,110,000 บาท เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 55.55

  8. ระเบียบที่เกี่ยวข้อง 1. ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลังของส่วนราชการ พ.ศ.2520 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ยกเลิกโดยใช้ระเบียบข้อ 2) 2. ระเบียบ การเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551 3. ระเบียบกรมส่งเสริมการเกษตร ว่าด้วยการใช้จ่ายเงินรายได้จากการ ดำเนินงานส่งเสริมด้านการเกษตร พ.ศ.2547 4. ประกาศกรมส่งเสริมการเกษตร ว่าด้วยการเก็บค่าเช่าใช้อาคารสถานที่ของ ศูนย์ปฏิบัติการ พ.ศ.2548,หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0409.3/ว 503 ลงวันที่ 19 ธันวาคม 2548 5. ระเบียบกรมส่งเสริมการเกษตร ว่าด้วยเงินรายได้จากการรับจ้างผลิตและ จำหน่ายปัจจัยการเกษตรของศูนย์ปฏิบัติการ พ.ศ. 2552 6. อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับเงินฝากกระทรวงการคลัง

  9. ระเบียบที่เกี่ยวกับการรับ-จ่ายเงินที่รับบริจาคระเบียบที่เกี่ยวกับการรับ-จ่ายเงินที่รับบริจาค 1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 170 2. พระราชบัญญัติว่าด้วยวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 มาตรา 24 3. ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการรับเงินหรือทรัพย์สินที่มี ผู้บริจาคให้ทางราชการ พ.ศ. 2526

  10. วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเงินที่ส่วนราชการได้รับอุดหนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเงินที่ส่วนราชการได้รับอุดหนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

  11. สรุปหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเงินที่ส่วนราชการได้รับอุดหนุนจากองค์กรปกครอง สรุปหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเงินที่ส่วนราชการได้รับอุดหนุนจากองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0406.3/ว 59 ลงวันที่ 22 กรกฎาคม 2552 1. หน่วยงาน - ทำแผนงาน/โครงการ – ใช้จ่ายเงินได้ - เหลือคืน/ส่งเป็นรายได้แผ่นดิน แล้วแต่ตกลงกัน (ในหนังสือ) 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - ทำแผนงาน/โครงการ – หน่วยงานใช้จ่ายเงินไม่ได้ – นำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน (หากจำเป็นต้องเก็บไว้ใช้จ่ายให้ขอทำความตกลงกับ กระทรวงการคลัง) 3. จากข้อ 2 ถ้าต้องการใช้เงิน – ทำหนังสือถึงผอ.กองคลัง – กองคลังทำหนังสือถึง กระทรวงการคลัง – กระทรวงการคลังอนุมัติ – กองคลังแจ้งให้ใช้จ่ายเงินได้ – หน่วยงานใช้จ่ายเงินตามแผนงาน/โครงการ - เหลือส่งคืนเป็นรายได้แผ่นดิน 4. ต้องออกใบเสร็จรับเงินทุกครั้งที่ได้รับเงิน โดยใช้ใบเสร็จรับเงินในราชการของ ส่วนราชการต้นสังกัดระดับกรม

  12. สรุปหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเงินที่ส่วนราชการได้รับอุดหนุนจากองค์กรปกครอง สรุปหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเงินที่ส่วนราชการได้รับอุดหนุนจากองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0406.3/ว 59 ลงวันที่ 22 กรกฎาคม 2552 5. ให้ส่วนราชการนำเงินที่ได้รับทั้งหมดฝากคลัง ชื่อบัญชี “เงินอุดหนุนเพื่อโครงการต่างๆ ที่ได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” รหัสบัญชีเงินฝากคลัง “_ _697” และให้จัดทำ ทะเบียนคุมแยกรายโครงการ 6. กรณีมีความจำเป็นต้องมีเงินสดไว้ ณ ที่ทำการเพื่อสำรองจ่าย ให้ส่วนราชการเก็บ รักษาเงินสดไว้ใช้จ่ายสำหรับทุกโครงการรวมกันได้ในวงเงินไม่เกิน 50,000.- บาท 7. สำหรับแผนงาน/โครงการที่มีระยะเวลาการดำเนินงานในช่วงสั้น และเมื่อได้รับเงินแล้ว ใช้จ่ายภายในระยะเวลาไม่เกิน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับเงินไม่ต้องนำฝากคลังได้ 8. เงินที่ได้รับตามโครงการใดให้นำไปจ่ายหรือก่อหนี้ผูกพันได้แต่เฉพาะโครงการนั้น 9. ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ

  13. แนวทางปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับเงินที่ส่วนราชการแนวทางปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับเงินที่ส่วนราชการ ได้รับอุดหนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

  14. กรณีส่วนราชการได้รับเงินอุดหนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากการจัดทำกรณีส่วนราชการได้รับเงินอุดหนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากการจัดทำ แผนงาน/โครงการภายใต้กรอบอำนาจหน้าที่และภารกิจของส่วนราชการ  กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้จัดทำแผนงาน/โครงการภายใต้ภารกิจหน้าที่ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่ไม่สามารถดำเนินการได้ และได้ขอความร่วมมือ ให้ส่วนราชการเป็นผู้ดำเนินการแทนโดยสนับสนุนเงินค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0423.3/ว 37 ลงวันที่ 27 มกราคม 2553 สรุปแนวทางปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับเงินที่ส่วนราชการ ได้รับอุดหนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

More Related