180 likes | 2.99k Views
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ. คำชี้แจง. 1.นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตามประเด็นต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก 1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตถึงปัจจุบันจริงหรือ 1.3. สิ่งใดที่บ่งบอกความเจริญของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำ สินธุ
E N D
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
คำชี้แจง 1.นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตามประเด็นต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก 1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตถึงปัจจุบันจริงหรือ 1.3. สิ่งใดที่บ่งบอกความเจริญของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ 1.4 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีอิทธิพลต่อสังคมไทยเราอย่างไร 2. ให้นักเรียนศึกษา อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ 1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ 2 หรือเว็บไซต์อื่นๆ แล้วตอบคำถามตามประเด็นโดยให้ทำใส่ power point หรือ ทำเป็นคลิปVDO ส่งตรง add reply ส่งภายใน 25 ธันวาคม 2556
1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก เป็นแหล่งอารยธรรมเริ่มแรกของอินเดีย อยู่บริเวณดินแดนภาคตะวันตกของอินเดีย (ปากีสถานในปัจจุบัน) ที่แม่น้ำสินธุไหลผ่าน อาณาเขตลุ่มแม่น้ำสินธุครอบคลุมบริเวณกว้างกว่าลุ่มแม่น้ำไนล์แห่งอิยิปต์ โดยทุกๆปีกระแสน้ำได้ไหลท่วมท้นฝั่งทำให้ดินแดนลุ่มน้ำสินธุอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การทำกสิกรรม นักประวัติศาสตร์บางคนเรียกอารยธรรมในดินแดนนี้ว่า วัฒนธรรมฮารัปปา
1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตถึงปัจจุบันจริงหรือ จริง เพราะ อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตจนถึงปัจจุบันอย่างรวดเร็ว อย่างเห็นได้ชัด ซึ่งเป็นอารยธรรมที่ใหญ่จนติดอันดับของโลก
1.3. สิ่งใดที่บ่งบอกความเจริญของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ 1.การปกครองและกฎหมาย ในสมัยจักรวรรดิเมารยะได้มีการเขียนตำราการเมืองการปกครองและความมั่นคงของสังคมบ้านเมือง ชื่อ อรรถศาสตร์ 2.ด้านคณิตศาสตร์ อินเดียสมัยโบราณได้มีการพัฒนาวิทยาการทางด้าน คณิตศาสตร์มาก ชาวอินเดียเป็นชนชาติแรกที่ประดิษฐ์เลข 0 (ศูนย์) ขึ้นใช้ 3.ด้านการแพทย์ ในจารึกพระเจ้าอโศกมหาราชของอินเดีย กล่าวถึงโรงพยาบาล สำหรับผู้เจ็บป่วยและในการบันทึกของเมกัสเธนีส
1.4 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีอิทธิพลต่อสังคมไทยเราอย่างไร อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีอิทธิพลต่อสังคมไทย เช่น ด้านคณิตศาสตร์ อินเดียสมัยโบราณเป็นชนชาติแรกที่ประดิษฐ์เลข 0 ทำให้มีหลักหน่วย สิบ ร้อย และพัน
จัดทำโดย นางสาว บุญฑริกา แสนหนองชาติ เลขที่ ๒๔ ชั้น ม.๕/๑