190 likes | 397 Views
ทุนทางปัญญา Intellectual Capital KM 743 Session 2. EVOLUTION OF THE INTELLECTUAL CAPITAL. IC Perspective. New Economy : 80% is based on intangible (Service Industry). Intellectual capital.
E N D
ทุนทางปัญญาIntellectual Capital KM743Session 2
IC Perspective • New Economy : • 80% is based on intangible (Service Industry)
Intellectual capital • Knowledge-based firm: the firm-specific knowledge has become the most important source of sustainable competitive advantage • Different theories on competitive advantage • Industry-based view • Resources-base view • Knowledge-base view
1. Industry-based view • Michael E Porter 1980 • Outside forces usually affect all firms in the industry สิ่งแวดล้อมภายนอกจะส่งผลกระทบต่อการสร้างยุทธศาสตร์การแข่งขันขององค์กรในอุตสาหกรรม • An organization must create strategies togain competitive advantage องค์กรจะต้องสร้างยุทธศาสตร์ที่สามารถสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน
Five Forces การเข้ามาของผู้ประกอบการรายใหม่ อำนาจการต่อรองของผู้ผลิต อำนาจการต่อรองของผู้บริโภค การแข่งขันของอุตสาหกรรม การมีสินค้าและบริการอื่นทดแทน
การเข้ามาของผู้ประกอบการรายใหม่ (Threat of new Entrants) • ขนาดของธุรกิจ (Economic of scale) • ความแตกต่างของสินค้า (Product differentiation) • ความภักดีต่อตราสินค้า (Brand royalty) • ต้นทุนการเปลี่ยนแปลง (Switching costs) • ความจำเป็นด้านต้นทุน (Capital requirements) • การเข้าถึงการกระจายสินค้า (Access to distribution) • วงจรชีวิตของอุตสาหกรรม (Industry life cycle) • ความได้เปรียบด้านการเรียนรู้ (Learning curve advantages ) • การคาดการณ์การตอบโต้จากฝ่ายตรงกันข้าม (Expected retaliation) • นโยบายของรัฐ (Government policies) • การทำกำไรในอุตสาหกรรม (Industry profitability) “the easier to get into the industry, the more competitors you get”
อำนาจการต่อรองของผู้บริโภค (Bargaining Power of Customers) • การกระจุกตัวของผู้ซื้อ/ของผู้ขาย (Buyer concentration to firm concentration ratio) • จำนวนการซื้อ (Volume of buying) • ต้นทุนการเปลี่ยน (Switching costs) • ผู้ซื้อมีข้อมูล (Buyer information availability) • ความสามารถในการเข้าไปซื้อหรือเป็นเจ้าของในห้วงโซ่อุตสาหกรรม (Ability to backward integrate) • ผู้ซื้ออ่อนไหวต่อราคา (Buyer price sensitivity) • มีตัวเลือก (Choice of selection) • ความภักดีต่อตราสินค้า (Brand royalty) For buyers: more choices, more power to bargain
อำนาจการต่อรองของผู้ผลิตวัตถุดิบ (Bargaining Power of Suppliers) • จำนวนผู้ผลิตวัตถุดิบ (Number of suppliers) • การรวมตัวกันของผู้จัดส่ง (Suppliers integration) • ผู้ผลิตวัตถุดิบสร้างความแตกต่าง (Degree of differentiation of inputs) • วัตถุดิบที่มีของทดแทนได้หรือไม่ (Substitute inputs) • การเข้าไปเป็นผู้ผลิตสินค้าปลายทาง (Forward Integration) • ต้นทุนวัตถุดิบเมื่อเทียบกับราคาขาย (Cost of inputs relative to selling price of the product ) • จำนวนและปริมาณที่ต้องการจากผู้จัดส่ง (Volume to supplier ) For Suppliers: less choices, more power to bargain
การมีสินค้าและบริการอื่นทดแทน (Threat of Substitute products) • ต้นทุนในการเปลี่ยนไปใช้สินค้าทดแทน (Switching cost) • ระดับราคาสินค้าทดแทน (Relative Price of substitute products) • คุณภาพสินค้าทดแทน (Relative quality of substitute) • Less substitutions is better
สภาพการณ์ของการแข่งขันของอุตสาหกรรม (Rivalry among exist firms) • จำนวนคู่แข่งขัน (Number of competitors) • ความแตกต่างของสินค้า (Relative size of competitors) • การเติบโตของอุตสาหกรรม (Industry growth rate) • การผลิตส่วนเกิน (Product exceed) • การมีอุปสรรคในการออกจากอุตสาหกรรม (Barriers to exit) • ขนาดของคู่แข่งในอุตสาหกรรม (Relative size of competitors) • การคาดการณ์การตอบโต้จากผู้นำตลาด (Expected retaliation from the market leader)
การเข้ามาของผู้ประกอบการรายใหม่ (Threat of new Entrants)
อำนาจการต่อรองของผู้บริโภค (Bargaining Power of Customers)
อำนาจการต่อรองของผู้ผลิตวัตถุดิบ (Bargaining Power of Suppliers)
การมีสินค้าและบริการอื่นทดแทน (Threat of Substitute products)
สภาพการณ์ของการแข่งขันของอุตสาหกรรม (Rivalry among exist firms)
Next week Assignment • 3 groups • Go to Tesco Lotus • Go to Rimping • Go to Daiso • วิเคราะห์เปรียบเทียบสิ่งที่พบ