1 / 31

ประโยชน์และผลกระทบจาก การเปิดเสรีการจัดซื้อจัดจ้างในกรอบ GPA

ประโยชน์และผลกระทบจาก การเปิดเสรีการจัดซื้อจัดจ้างในกรอบ GPA. สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI). เนื้อหาในการนำเสนอ. ความตกลงการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ( GPA) กรอบในการวิเคราะห์ประโยชน์จากการเป็นสมาชิก GPA การประมาณการประโยชน์ของไทยจากการเป็นสมาชิก GPA

saul
Download Presentation

ประโยชน์และผลกระทบจาก การเปิดเสรีการจัดซื้อจัดจ้างในกรอบ GPA

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประโยชน์และผลกระทบจากการเปิดเสรีการจัดซื้อจัดจ้างในกรอบ GPA สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)

  2. เนื้อหาในการนำเสนอ ความตกลงการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (GPA) กรอบในการวิเคราะห์ประโยชน์จากการเป็นสมาชิก GPA การประมาณการประโยชน์ของไทยจากการเป็นสมาชิก GPA ต้นทุนของไทยจากการเป็นสมาชิก GPA

  3. ความตกลงการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (GPA) • GPA เป็นความตกลงแบบหลายฝาย (plurilateral agreement) ขององค์การการค้าโลก • ในปัจจุบัน GPA มี • สหภาพยุโรปและ 40 ประเทศเป็นสมาชิก • ประเทศที่กำลังเจรจาเข้าเป็นสมาชิก 7 ประเทศ • ประเทศผู้สังเกตการณ์ 15 ประเทศ • WTO ยกร่างความตกลงฉบับใหม่เสร็จสิ้นเมื่อปี 2006

  4. ความตกลงการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (GPA) กำหนดให้ประเทศสมาชิกต้องเปิดเสรีตลาดจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ตามรายการสินค้า บริการ และการก่อสร้างและรายชื่อหน่วยงานที่กำหนดในภาคผนวก ซึ่งมีมูลค่าโครงการสูงกว่าอัตราที่กำหนด กำหนดให้มีกลไกในการสร้างความโปร่งใสจากการเปิดเผยข้อมูลต่างๆ ก่อนและหลังเสนอราคา และมีกลไกการดำเนินการคัดค้าน ฯลฯ

  5. มูลค่าขั้นต่ำของโครงการที่ต้องเปิดเสรีมูลค่าขั้นต่ำของโครงการที่ต้องเปิดเสรี

  6. กรอบในการประมาณการประโยชน์ของ GPA 1 2 3 4 จำนวนซัพพลายเออร์ ที่เข้าแข่งขันที่เพิ่มขึ้น งบประมาณของรัฐ ที่ประหยัดได้ 1. ซัพพลายเออร์ จากต่างประเทศ 2. ความโปร่งใส ที่เพิ่มขึ้น มูลค่าตลาดต่างประเทศ ที่เข้าถึงได้ 3. โอกาสของ ซัพพลายเออร์ไทย ในต่างประเทศ

  7. 1. ความสัมพันธ์ระหว่างการแข่งขันกับราคาชนะประมูล ทฤษฎีการประมูล (Klemperer, 2004) โดยที่ P = ราคาที่ผู้ชนะประมูลเสนอ n = จำนวนผู้ประมูล = ราคาสูงสุดของผู้เข้าร่วมประมูลเสนอ = ราคาต่ำสุดของผู้เข้าร่วมประมูลเสนอ ราคาที่ผู้ชนะประมูลเสนอ จะลดลงตามจำนวนผู้ประมูล แต่อัตราการลดลงของราคาจะน้อยลงเรื่อยๆ

  8. แบบจำลองการวิเคราะห์ส่วนลดจากราคาตั้งต้นแบบจำลองการวิเคราะห์ส่วนลดจากราคาตั้งต้น • ประเภทสินค้าและบริการ • -ครุภัณฑ์ • -วัสดุ • -งานจ้างเหมา • -งานเช่า • -งานก่อสร้าง • หน่วยงานจัดซื้อจัดจ้าง • -ส่วนกลาง • -รัฐวิสาหกิจและ • หน่วยงานอื่นๆ ส่วนลดจาก ราคาตั้งต้น (%) จำนวนผู้ร่วม ประมูลที่ปรับแล้ว ตัวแปรอื่นๆ   • ส่วนลดจากราคาตั้งต้นประมูลจะเพิ่มขึ้น 28% หากจำนวนผู้เข้าร่วมประมูลที่ปรับแล้ว (n-1)/(n+1)เพิ่ม 1 หน่วย เช่น ผู้เข้าร่วมประมูลเพิ่มจาก 2 ราย เป็น 11 ราย ส่วนลดจะเพิ่มขึ้น 14%

  9. จำนวนผู้เข้าประมูลกับส่วนลดจากราคาตั้งต้นจำนวนผู้เข้าประมูลกับส่วนลดจากราคาตั้งต้น

  10. ราคาชนะประมูลที่ลดลงตามจำนวนผู้เข้าแข่งขันราคาชนะประมูลที่ลดลงตามจำนวนผู้เข้าแข่งขัน ราคาชนะประมูล/ราคาเริ่มต้น *ผลการประมาณการกรณีของส่วนราชการกลาง

  11. เปรียบเทียบจำนวนผู้เข้าร่วมแข่งขันในกรณีต่างๆเปรียบเทียบจำนวนผู้เข้าร่วมแข่งขันในกรณีต่างๆ

  12. งบประมาณที่รัฐประหยัดได้จากการแข่งขันที่เพิ่มขึ้นงบประมาณที่รัฐประหยัดได้จากการแข่งขันที่เพิ่มขึ้น

  13. 2. ความสัมพันธ์ระหว่างความโปร่งใสกับการแข่งขัน ดัชนีวัดความโปร่งใส (transparency index) • การประกาศข่าวประกวดราคาใน GProcurement • ระยะเวลาในการเตรียมยื่นซองเสนอราคา และ • คุณสมบัติของผู้เสนอราคา

  14. ข้อมูลในการจัดทำดัชนีความโปร่งใส กำหนดคุณสมบัติเกินกว่าเหมาะสมหรือไม่? ประกาศข่าวหรือไม่? ให้เวลายื่นซองนานเพียงใด? ฐานข้อมูลประกวดราคากรมประชาสัมพันธ์ E-auction การประกาศข่าวใน G-Procurement + ข้อมูลโครงการเบื้องต้น พค. 2552 (1179 รายการ)

  15. ดัชนีความโปร่งใส ค่าดัชนีความโปร่งใส = • 1.00 คะแนน หากประกาศข่าวก่อนยื่นซองมากกว่า 30 วัน • 0.75 คะแนน หากประกาศข่าวก่อนยื่นซอง 16- 30 วัน • 0.50 คะแนน หากประกาศข่าวก่อนยื่นซอง 7-15 วัน • 0.25 คะแนน หากประกาศข่าวก่อนยื่นซองน้อยกว่า 7 วัน • 0.00 คะแนน หากไม่ประกาศข่าวในเว็บไซต์หรือประกาศหลังประมูล ลบ0.25 หากกำหนดประสบการณ์ของซัพพลายเออร์ (track record) สูงเกินกว่ามูลค่าโครงการปัจจุบัน ดัชนีความโปร่งใสมีค่าอยู่ระหว่าง 0 ถึง 1

  16. ระดับความโปร่งใสของโครงการระดับความโปร่งใสของโครงการ ร้อยละของโครงการ ระดับความโปร่งใส

  17. แบบจำลองผลกระทบจากความโปร่งใสต่อการแข่งขันแบบจำลองผลกระทบจากความโปร่งใสต่อการแข่งขัน • มูลค่าของโครงการ • ประเภทสินค้าและบริการ • -ครุภัณฑ์ • -วัสดุ • -งานจ้างเหมา • -งานเช่า • -งานก่อสร้าง • หน่วยงานจัดซื้อจัดจ้าง • -ส่วนกลาง • -รัฐวิสาหกิจ& • หน่วยงานอื่นๆ จำนวนผู้ร่วม ประมูล ดัชนีความโปร่งใส ตัวแปรอื่นๆ   • การเพิ่มดัชนีความโปร่งใสในการจัดจ้างงานก่อสร้างจาก 0 เป็น 1 ช่วยเพิ่มผู้ร่วมประมูลเฉลี่ย 3.4 ราย

  18. ระดับความโปร่งใสกับจำนวนผู้เข้าประมูลระดับความโปร่งใสกับจำนวนผู้เข้าประมูล

  19. ประโยชน์จากความโปร่งใสประโยชน์จากความโปร่งใส • ความไม่โปร่งใสในงานก่อสร้างทำให้มีผู้เข้าร่วมประมูลน้อยกว่าที่ควรโดยเฉลี่ย 3.42 ราย • การปรับปรุงความโปร่งใสในการประกาศข่าว การให้เวลายื่นเสนอราคาที่เพียงพอและการไม่กำหนดประวัติการรับงานที่สูงเกินไป จะทำให้รัฐประหยัดงบได้ 2.2% หรือประมาณ 2,917 ล้านบาท/ปี • ยังไม่ได้คิดผลของการกำหนดคุณสมบัติของผู้ประกอบการหรือสินค้าที่กีดกันการแข่งขัน (“ล็อคสเปค”)

  20. 3. โอกาสในการเข้าสู่ตลาดต่างประเทศ • ไม่ควรประมาณการจากส่วนแบ่งตลาดในการส่งออก เพราะกฎกติที่อาจเป็นอุปสรรคแตกต่างกันมาก • แนวทางของคณะผู้วิจัย 1) ประมาณการขนาดตลาดการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของประเทศสมาชิกและประเทศผู้สังเกตการณ์โดยใช้สัดส่วนร้อยละ 10 ของ GDP 2) ประมาณการส่วนแบ่งตลาดของซัพพลายเออร์ไทยในประเทศสมาชิกและประเทศผู้สังเกตการณ์โดยใช้ฐานข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างระหว่างประเทศของธนาคารโลก 3) โอกาสในการเข้าสู่ตลาด = ขนาดตลาด x ส่วนแบ่ง

  21. โอกาสในตลาดต่างประเทศของซัพพลายเออร์ไทยโอกาสในตลาดต่างประเทศของซัพพลายเออร์ไทย

  22. 4. การประมาณการต้นทุนการเป็นสมาชิก GPA ผลด้านลบที่อาจเกิดต่อซัพพลายเออร์ไทย 1. ซัพพลายเออร์ จากต่างประเทศ จำนวนซัพพลายเออร์ ที่เข้าแข่งขันที่เพิ่มขึ้น งบประมาณของรัฐ ที่ประหยัดได้ ไม่มีผลด้านลบต่อ ซัพพลายเออร์ไทย 2. ความโปร่งใส ที่เพิ่มขึ้น มูลค่าตลาด ต่างประเทศ ที่เข้าถึงได้ ไม่มีผลด้านลบต่อ ซัพพลายเออร์ไทย 3. โอกาสของ ซัพพลายเออร์ไทย ในต่างประเทศ * ไม่ได้คิดต้นทุนของภาครัฐในการเตรียมการ

  23. ซัพพลายเออร์ที่ได้โครงการในประเทศไทยซัพพลายเออร์ที่ได้โครงการในประเทศไทย ที่มา: ฐานข้อมูลของธนาคารโลก • ซัพพลายเออร์จากสมาชิก GPA ชนะเฉพาะโครงการสินค้า-บริการบางส่วน • อุตสาหกรรมก่อสร้างไทยไม่น่าจะได้รับผลกระทบมากนัก

  24. ตัวอย่างโครงการก่อสร้างในต่างประเทศ โดยผู้ประกอบการไทย กาตาร์ :อาคารพักอาศัย Medina (8.6 พันล้านบาท) งานโครงสร้าง New Doha International Airport (300 ล้านบาท) หมู่บ้านนักกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ 2006 (4 พันล้านบาท) ลาว:เขื่อนน้ำเทิน 2 (4.7 หมื่นล้านบาท) เขื่อนน้ำงึม 2 (2.2 หมื่นล้านบาท) ทางหลวงเชียงราย-คุนหมิง (1.1 พันล้านบาท) ปรับปรุงสนามบินวัดไต (311 ล้านบาท) Qatar Bangladesh Taiwan UAE Laos UAE : Dubai Lagoon (10.75 พันล้านบาท) อาคารที่พักอาศัย Ajman (10.5 พันล้านบาท) Royal Amwaj Resort&Spa (1.46 พันล้านบาท) Cambodia Sri Lanka พม่า: Mandalay International Airport (3.7 พันล้านบาท) กัมพูชา:ปรับปรุงถนนสายตราด-เกาะกง-สะแรอัมเปิล (798 ล้านบาท) สะพานข้ามแม่น้ำเกาะกง (288 ล้านบาท) Royal Ankor International Hospital (138 ล้านบาท) ที่มา:FEDCON บังกลาเทศ: Rupsa Bridge (3.5 พันล้านบาท)

  25. จุดอ่อน-จุดแข็งของผู้ประกอบการไทยจุดอ่อน-จุดแข็งของผู้ประกอบการไทย ผู้ประกอบการก่อสร้างรายใหญ่ของไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูง ทั้งในตลาดในประเทศและตลาดประเทศกำลังพัฒนาในเอเชีย ผู้ประกอบการด้านระบบ IT ไทยเริ่มออกสู่ตลาดจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐในประเทศเพื่อนบ้าน ผู้ประกอบการไทยยังไม่มีขีดความสามารถในการรับโครงการที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูง และไม่สามารถเข้าถึงตลาดจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐในประเทศพัฒนาแล้ว

  26. ผลกระทบต่อ SMEs * สุ่มตัวอย่างจากฐานข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของ สตง. ปี 2546

  27. ผลกระทบต่อนโยบายอุตสาหกรรมผลกระทบต่อนโยบายอุตสาหกรรม • รัฐบาลไทยอาจมีข้อจำกัดในการใช้การจัดซื้อจัดจ้างสนับสนุนนโยบายอุตสาหกรรม เช่น • การให้แต้มต่อด้านราคาแก่สินค้าและบริการในประเทศ และการกำหนดให้ถ่ายทอดเทคโนโลยี ยังสามารถเจรจาขอทำได้ในช่วงเปลี่ยนผ่าน ภายใต้เงื่อนไขที่ชัดเจน • ในระยะยาว ต้องปรับเปลี่ยนแนวนโยบาย เช่น • ใช้มาตรการสนับสนุน SMEs แทนการสนับสนุนผู้ประกอบการในประเทศ • ใช้มาตรการจูงใจแทนการบังคับถ่ายทอดเทคโนโลยี

  28. ผลกระทบด้านสังคม • GPA มีข้อยกเว้นให้สามารถใช้มาตรการต่อไปนี้ได้ หากไม่เลือกปฏิบัติโดยไม่สมเหตุผล เพื่อกีดกันการค้า • การรักษาความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัย และศีลธรรมของสังคม • การรักษาชีวิตหรือสุขอนามัยของคน สัตว์ พืช • การสนับสนุนคนพิการ องค์กรการกุศล และการใช้แรงงานนักโทษ

  29. สรุป • การเป็นสมาชิก GPA ช่วยให้รัฐประหยัดงบประมาณ • 1,293-7,389 ล้านบาทต่อปีจากการแข่งขันที่เพิ่มขึ้น และ • 2,917 ล้านบาทต่อปีจากความโปร่งใสที่เพิ่มขึ้น • รวม 4,210-10,306ล้านบาทต่อปี • ประโยชน์ในการเข้าถึงตลาดในต่างประเทศน่าจะน้อย • การประมาณการให้ตัวเลขประโยชน์ขั้นต่ำ • ยังไม่รวมโครงการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • ยังไม่คิดผลจากการกำหนดคุณสมบัติของผู้ประกอบการหรือสินค้าที่กีดกันการแข่งขัน • งบประมาณที่ประหยัดได้ต่ำกว่า “อัตราใต้โต๊ะ” ที่กล่าวกันโดยทั่วไปมาก

  30. ประเด็นอภิปราย ไทยสามารถได้ประโยชน์โดยไม่เป็นสมาชิก GPA ได้หรือไม่? • จะไม่ได้ประโยชน์จากการเปิดตลาดของสมาชิกอื่น • จะไม่ได้ประโยชน์จากการแข่งขันที่เพิ่มขึ้นในประเทศไทย • จะได้ประโยชน์จากการเพิ่มความโปร่งใสของระบบจัดซื้อจัดจ้าง ก็ต่อเมื่อรัฐมีความมุ่งมั่นในการปฏิรูประบบให้โปร่งใส • การมีพันธกรณี (commitment) กับต่างประเทศเป็นหลักประกันของการปฏิรูประบบ

  31. การเปิดเผยข้อมูลการทุจริตจากต่างประเทศการเปิดเผยข้อมูลการทุจริตจากต่างประเทศ ตัวอย่างการดำเนินคดีทุจริตด้านจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของไทย โดยรัฐบาลต่างประเทศ • พ.ศ. 2548: กระทรวงยุติธรรม และ กลต. สหรัฐ ลงโทษปรับบริษัทอินวิชั่นในคดีสินบน CTX Scanner • พ.ศ. 2551: อัยการญี่ปุ่นดำเนินคดีสินบนอุโมงค์ระบายน้ำ กทม. • พ.ศ. 2552: ศาล Los Angelis พิจารณาคดีสินบนงานนิทรรศการภาพยนตร์นานาชาติกรุงเทพ

More Related