E N D
ระเบียบข้อ 20 วรรคแรก (1)เกิดภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินขึ้นใน กทม. อธิบดีกรมป้องกันฯ มีอำนาจในการประกาศเขตฯระเบียบข้อ 20 วรรคแรก (2)เกิดภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินขึ้นในจังหวัดอื่นผู้ว่าราชการจังหวัด ร่วมกับ ก.ช.ภ.จ. มีอำนาจในการประกาศเขตฯระเบียบข้อ 20 วรรคท้าย หากไม่สามารถประชุม ก.ช.ภ.จ. ได้ทันท่วงที และผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นว่าความเสียหายเป็นไปตามหลักเกณฑ์ผู้ว่าราชการจังหวัด มีอำนาจในการประกาศเขตฯ โดยไม่ต้องขอความเห็นชอบจาก ก.ช.ภ.จ. (ไม่ต้องผ่าน ก.ช.ภ.อ.) การประกาศเขต การให้ความช่วยเหลือฯ
ขั้นตอนการประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือในระดับจังหวัด1. อปท.: เกิด “ภัยพิบัติ” ให้รายงานอำเภอ/สำนักงาน ปภ.จว.2. อำเภอ: ส่ง “รายงานเหตุด่วนสาธารณภัย” ให้จังหวัด 3. สนง.ปภ.จ. : จัดทำประกาศเขตฯ โดย: ใช้ข้อมูลทางวิชาการของหน่วยงานอื่นประกอบการพิจารณา: หาก “ภัยพิบัติ” เป็น “กรณีฉุกเฉิน” ให้เสนอ ก.ช.ภ.จ.เห็นชอบ และให้ผู้ว่าฯ ลงนามประกาศเขตฯ4. ผู้ว่าฯ ร่วมกับ ก.ช.ภ.จ. มีอำนาจในการประกาศภัย (ระเบียบข้อ 20) : ผู้ว่าฯ มอบอำนาจได้ ตาม พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ผู้ว่าฯ ต้องคำนึงถึงเจตนารมณ์ของระเบียบกระทรวงการคลังฯ “ให้ผู้ว่าฯ มีหน้าที่ช่วยเหลือผู้ประสบภัยในพื้นที่แบบบูรณาการ”**ใช้เงินท้องถิ่นไม่ต้องมีประกาศภัย มท 0891.2/ว2536 ลว.12ธค.51**
ประกาศ มี 3 ประเภท1. ประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือ (เปิดภัย)2. ประกาศสิ้นสุดภัย (ปิดภัย) 3. ประกาศยุติการให้ความช่วยเหลือ (ยุติการช่วยเหลือ) การช่วยเหลือเสร็จสิ้น (ระเบียบข้อ 10) ให้ส่วนราชการตามข้อ 8 ยุติการอนุมัติจ่ายเงินทดรองฯ ในกรณีใดกรณีหนึ่งที่เกิดขึ้นก่อน ดังต่อไปนี้ 1. ได้รับจัดสรรงบประมาณเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้ว 2. เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาการช่วยเหลือ ตามประกาศเขต การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (3 เดือน นับแต่วันเกิดภัย) 3. เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัด/อธิบดี ประกาศยุติการให้ความช่วยเหลือ
ประกาศจังหวัด..(1*).. เรื่อง ประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินในพื้นที่อำเภอ..(2*).. ด้วยได้เกิดเหตุภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน โดยเกิดเหตุ..(3*)..ขึ้นในพื้นที่..(4*)..เมื่อวันที่..(5*).. ก่อให้เกิดความเสียหายต่อ..(6*)..และภัยพิบัติดังกล่าว..(7* สิ้นสุดหรือยังไม่สิ้นสุด).. อาศัยอำนาจตามข้อ 20 วรรคแรก (2)ของระเบียบกระทรวงการคลัง..ฯลฯ เนื่องจากเป็นกรณีฉุกเฉินเร่งด่วน และมติที่ประชุม ก.ช.ภ.จ....ครั้งที่....เมื่อวันที่....ผู้ว่าราชการจังหวัด....โดยความเห็นชอบของ ก.ช.ภ.จ.....จึงประกาศให้พื้นที่ดังกล่าวเป็นเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติฉุกเฉิน และจำเป็นต้องให้ความช่วยเหลือเป็นกรณีเร่งด่วน ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 3 เดือนนับแต่วันเกิดภัย (8*)ตามหลักเกณฑ์..ฯลฯ.. ประกาศ ณ วันที่..(9*).. (ลงชื่อ) ............................... ผู้ว่าราชการจังหวัด..(10*).. ตัวอย่างประกาศอย่างสั้น กรณี ประชุม ก.ช.ภ.จ. อ้างระเบียบข้อ 20 วรรคแรก (2)
ประกาศจังหวัด..(1*).. เรื่อง ประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินในพื้นที่อำเภอ..(2*).. ด้วยได้เกิดเหตุภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน โดยเกิดเหตุ..(3*)..ขึ้นในพื้นที่..(4*)..เมื่อวันที่..(5*).. ก่อให้เกิดความเสียหายต่อ..(6*)..และภัยพิบัติดังกล่าว..(7* สิ้นสุดหรือยังไม่สิ้นสุด).. อาศัยอำนาจตามข้อ 20 วรรคท้ายของระเบียบกระทรวงการคลัง..ฯลฯ เนื่องจากความเสียหายจากภัยพิบัติเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด และเป็นกรณีฉุกเฉินเร่งด่วนไม่สามารถประชุม ก.ช.ภ.จ. ได้ทันท่วงที ผู้ว่าราชการจังหวัด.....จึงประกาศให้พื้นที่ดังกล่าวเป็นเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติฉุกเฉิน และจำเป็นต้องให้ความช่วยเหลือเป็นกรณีเร่งด่วน ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 3 เดือนนับแต่วันเกิดภัย (8*)ตามหลักเกณฑ์..ฯลฯ. ประกาศ ณ วันที่..(9*).. (ลงชื่อ) ............................... ผู้ว่าราชการจังหวัด..(10*).. ตัวอย่างประกาศอย่างสั้น กรณี ประชุม ก.ช.ภ.จ.ไม่ทันท่วงที อ้างระเบียบข้อ 20 วรรคท้าย
วันที่ ก.ช.ภ.อ./จ. อนุมัติช่วยเหลือ หรือวันที่นายอำเภอ/ผู้ว่าฯ อนุมัติช่วยเหลือ ไปก่อน (กรณีประชุมไม่ทัน) ต้องไม่ก่อนวันที่ผู้ว่าฯ ลงนามในประกาศเขต
การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย ข้อ 23(1) ให้อำเภอ ช่วยเหลือตามมติ ก.ช.ภ.อ. ภายในวงเงินที่ได้รับจัดสรร หากจำเป็นต้องใช้เงินมากกว่าวงเงินที่ได้รับจัดสรร ให้อำเภอขอสนับสนุนโดยตรงจากจังหวัด ข้อ 23 (1) วรรคสอง กรณี ประชุม ก.ช.ภ.อ./จ. ไม่ทันท่วงที ถ้านายอำเภอ/ผู้ว่าฯ เห็นว่าความเสียหายเป็นไปตามระเบียบ ให้นายอำเภอ/ผู้ว่าฯ อนุมัติการให้ความช่วยเหลือไปก่อนได้ ไม่ต้องขอความเห็นชอบจาก ก.ช.ภ.อ./จ. (จะเสนอ เพื่อทราบหรือไม่ ระเบียบไม่ได้กำหนดไว้) ข้อสังเกต ระเบียบเดิม ข้อ 11 (1) ก.ช.ภ.จ. มีหน้าที่สำรวจความเสียหาย ระเบียบใหม่ ข้อ 14 (1) ก.ช.ภ.จ. มีหน้าที่ตรวจสอบ/กลั่นกรอง การช่วยเหลือตามที่ ก.ช.ภ.อ. ได้สำรวจความเสียหายมา
การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ วงเงิน 20 ล้านบาท (ระเบียบข้อ 23) 1. อำเภอให้ความช่วยเหลือทุกด้าน ตามมติ ก.ช.ภ.อ. ภายในวงเงินจัดสรร หากวงเงินจัดสรรไม่เพียงพอ ให้ขอรับการสนับสนุนจากจังหวัด 2. จังหวัดสนับสนุนอำเภอทุกด้าน ตามมติ ก.ช.ภ.จ. หากวงเงินจังหวัดไม่เพียงพอ ให้ขอขยายวงเงินต่อกระทรวงการคลัง (ผ่านกรมป้องกันฯ) 3. หน่วยงานที่ไม่วงเงินทดรองฯ ใช้จ่ายเงินจังหวัด 20 ล้านบาท ได้ ต้องมีการร้องขอ,ถูกสั่ง (ระเบียบข้อ 14(3) ข้อ 23(2)) 4. หน่วยทหาร,ศูนย์ ปภ.เขต ใช้จ่ายเงินจังหวัด 20 ล้านบาท ไม่ได้ ถึงจะมีการร้องขอ,ถูกสั่ง หรือไม่ก็ตาม (ระเบียบข้อ 23(3)(4))
การอนุมัติจ่ายเงินทดรองราชการ (ระเบียบข้อ 9) (1) วงเงินสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี 100 ล้านบาท นายกรัฐมนตรีอนุมัติจ่าย (2) วงเงิน สป. กระทรวงกลาโหม 50 ล้านบาท ปลัด กห. อนุมัติจ่าย (3) วงเงิน สป. กระทรวง พม. 10 ล้านบาท ปลัด พม. อนุมัติจ่าย (4) วงเงิน สป. กระทรวงเกษตรฯ 50 ล้านบาท ปลัด กษ. อนุมัติจ่าย (5) วงเงิน สป. กระทรวงมหาดไทย 50 ล้านบาท ปลัด มท. อนุมัติจ่าย (6) วงเงิน สป. กระทรวงสาธารณสุข 10 ล้านบาท ปลัด สธ. อนุมัติจ่าย (7) วงเงินกรมป้องกันฯ 50 ล้านบาท อธิบดี ปภ. อนุมัติจ่าย (8) วงเงินสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด แห่งละ 20 ล้านบาท ผู้ว่าราชการจังหวัด อนุมัติจ่าย นายอำเภอ อนุมัติจ่าย (วงเงินที่ผู้ว่าฯ จัดสรรให้) มอบอำนาจให้ข้าราชการในสังกัดอนุมัติจ่ายเงินแทนได้ (ระเบียบข้อ 9 วรรคสอง)
หน่วยงานที่เบิกเงินจากคลังในระบบ GFMIS (ระเบียบข้อ 28) (1) วงเงินสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี 100 ล้านบาท สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เบิกเงิน (2) วงเงิน สป. กระทรวงกลาโหม 50 ล้านบาท สป. กห. เบิกเงิน (3) วงเงิน สป. กระทรวง พม. 10 ล้านบาท สป. พม. เบิกเงิน (4) วงเงิน สป. กระทรวงเกษตรฯ 50 ล้านบาท สป. กษ. เบิกเงิน (5) วงเงิน สป. กระทรวงมหาดไทย 50 ล้านบาท สป. มท. เบิกเงิน (6) วงเงิน สป. กระทรวงสาธารณสุข 10 ล้านบาท สป. สธ. เบิกเงิน (7) วงเงินกรมป้องกันฯ 50 ล้านบาท กองคลัง ปภ. เบิกเงิน (8) วงเงินสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด แห่งละ 20 ล้านบาท สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด เบิกเงิน ให้ผู้มีอำนาจอนุมัติจ่ายเงินก่อน จึงจะเบิกเงินจากคลังได้ (ระเบียบข้อ 28)