1.37k likes | 1.73k Views
การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง ตามแนวทางเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ( Public Sector Management Quality Award: PMQA ). ถิระ ถาวรบุตร ฝ่ายปรึกษาแนะนำด้านการจัดการ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. ศักยภาพ. พัฒนาคน พัฒนาไทย สู่การแข่งขันสากล.
E N D
การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง ตามแนวทางเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award: PMQA) ถิระ ถาวรบุตร ฝ่ายปรึกษาแนะนำด้านการจัดการ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ศักยภาพ พัฒนาคน พัฒนาไทย สู่การแข่งขันสากล
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 2551 Module 1 หลักการและเหตุผล การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
กรม/ส่วนราชการ ล้อเกวียน (การจัดการของกรม/ส่วนราชการ)
ส่วนราชการทราบจุดแข็งส่วนราชการทราบจุดแข็ง และโอกาสในการปรับปรุง การประเมินส่วนราชการด้วย ตนเอง (Self-Assessment) รายงานผลการดำเนินการ เบื้องต้นของส่วนราชการ 1 2 3 ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 4 5 การพัฒนาตามแนวทาง PMQA พรฎ. ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ 7. ผลลัพธ์ 1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3. ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4. ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ 6. อำนวยความสะดวกให้กับประชาชน 7. ประเมินผลการปฏิบัติราชการ P. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย ประสิทธิผล 2.การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล คุณภาพ 1.การนำองค์กร ประสิทธิภาพ 6.การจัดการ กระบวนการ 3. การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย พัฒนาองค์กร 4.การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ หน้า 6-9
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 2551 Module 2 หลักการของเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA Criteria)
หลักปัจจัย4ประการ 11 ค่านิยม 7 หมวด 4 วงจรการประเมิน 6 ระดับความแข็งแรง
11ค่านิยม (หลักคิด) การนำองค์กร อย่างมีวิสัยทัศน์ 1 การมุ่งเน้นอนาคต 5 การจัดการโดยใช้ ข้อมูลจริง ความรับผิดชอบ ต่อสังคม ความคล่องตัว 9 6 2 3 7 10 การให้ความสำคัญกับ บุคลากรและคู่ความร่วมมือ การเรียนรู้ขององค์กร และของแต่ละบุคคล การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ และการสร้างคุณค่า ความเป็นเลิศ ที่มุ่งเน้นผู้รับบริการ มุมมองในเชิงระบบ 8 11 การจัดการเพื่อ นวัตกรรม 4
7หมวดของการจัดการที่ดี7หมวดของการจัดการที่ดี P: ลักษณะสำคัญองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผนเชิง ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 1. การนำองค์กร 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้
การประเมินกระบวนการ:ADLIการประเมินกระบวนการ:ADLI I Integration Category 1-6 A Approach L Learning D Deployment
วงจรการจัดการ 4 ขั้นตอน : ADLI เป็นระบบชัดเจน ทำซ้ำได้ Approach A วัดได้ ติดตามได้ มุ่งปรับปปรุง มุ่งเป้า ข้อคำถาม A1 Goal A2 Plan A3 Assessment Plan ผลลัพธ์ ตรงเป้า Deployment D Result R Learning L Integration I ทำครอบคลุม ทุกหน่วย ทุกคน ทุกขั้น จรังจัง ความสอดคล้องของ เป้า แผน ปฏิบัติ วัด ปรับ ติดตาม แลกเปลี่ยน ปรับปรุง
12 คำถามนำ : ADLI Workshop ตัววัดเป้าหมาย และวิธีการ ติดตามประเมินผล เป็นอย่างไร Approach A Deployment D ทำได้ครอบคลุม ทุกขั้นตอนตามแผน หรือไม่อย่างไร แผน ขั้นตอน เป็นอย่างไร วัตถุประสงค์ เป็นอย่างไร คนที่ทำ ทำอย่างมุ่งมั่น หรือไม่อย่างไร คนที่รับมอบหมาย ทำหน้าที่ทุกคน หรือไม่อย่างไร A3 A1 D1 A2 D3 D2 ผลลัพธ์ ตรงเป้า หรือไม่อย่างไร ความสอดคล้องของ เป้า แผน ปฏิบัติ วัด ปรับ Integration I Learning L L1 I1 ความสอดคล้อง กับเป้าหมาย องค์กร ความสอดคล้อง กับกระบวนการอื่น ที่เกี่ยวข้อง มีการนำบทเรียน ไปปรับปรุง หรือไม่อย่างไร มีการแลกเปลี่ยน บทเรียนที่ได้รับ หรือไม่อย่างไร I3 I2 L3 L2
ประเภทคำถาม:หมวด1-6อย่างไร HOW:ADLI Approach A A1 เป้าหมาย A2 วิธีการ แผน A3 แผนประเมิน ตัววัด Deployment D D1 ขั้นตอน D2 บุคลากร D3 ความมุ่งมั่น Learning L L1 ตรวจสอบ L2 เรียนรู้ L3 แก้ไข ปรับปรุง ป้องกัน Integration I I1 สอดคล้อง ในตัวเอง I2 สอดคล้อง ระบบอื่น I3 สอดคล้อง เป้าหมายองค์กร
การประเมินผลลัพธ์LeTCLi Linkage Li Category 7 Level Le Comparison C Trends T
6ระดับความแข็งแรง 1 2 3 ไม่มีระบบใดเลย แก้ปัญหาเฉพาะหน้า แนวทางเริ่มเป็นระบบ 1 1 4 5 6 มุ่งเป็นทิศทางเดียวกัน แนวทางบูรณาการ บูรณาการเป็นหนึ่ง
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)2551 Module 3 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Performance Measurement) (105 Questions)
7หมวดของการจัดการที่ดี7หมวดของการจัดการที่ดี P: ลักษณะสำคัญองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผนเชิง ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 1. การนำองค์กร 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ หน้า 9
ระดับชั้นของเกณฑ์ P. ลักษณะสำคัญขององค์กร 2 ส่วน 1. การนำองค์กร 7 หมวด 17 หัวข้อ 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 30 ประเด็น พิจารณา ก. การกำหนดทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การควบคุมดูแลให้มีการจัดการภายในที่ดี ค. การทบทวนผล การดำเนินการขององค์กร 90 คำถาม (1) (2)
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวดP 15คำถาม
P. ลักษณะสำคัญขององค์กร P1. ลักษณะองค์กร P2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ
ประเภทคำถาม : หมวด 1-6อะไร WHAT WHAT
ประเภทคำถาม : หมวด 1-6อย่างไร HOW : ADLI HOW
คำถามตามเกณฑ์ PMQA :105คำถาม หมวด1 12 คำถาม
หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสังคม ข. การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม ค. การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ • การกำหนด วิสัยทัศน์ ค่านิยม ทิศทาง ผลการ ดำเนินการที่คาดหวัง และการถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ • การสร้างบรรยากาศการให้อำนาจตัดสินใจ นวัตกรรมและความคล่องตัว • การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม • การวัดและการตรวจติดตาม การมีจริยธรรม องค์กร • ความโปร่งใสตรวจสอบได้ • ความรับผิดชอบ • การปกป้อง ผลประโยชน์ ของประเทศชาติ • การทบทวน ผลการดำเนินการ • การนำผลมาปรับปรุงส่วนราชการ • การดำเนินการกรณีที่การปฏิบัติงานมีผลกระทบ ต่อสังคม • การดำเนินการต่อความกังวลของสาธารณะ • การสนับสนุนและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ ชุมชนที่สำคัญ หน้า 31
การตอบคำถาม1.1ก • HOW • 1การกำหนดและสื่อสารทิศทางองค์กร4ประเด็นคือ • วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ ค่านิยม ผลดำเนินงานที่คาดหวัง • กำหนดผลดำเนินงานโดยพิจารณาความต้องการโปร่งใสชัดเจน • ถ่ายทอดให้บุคลากรสู่การนำไปปฏิบัติ • สื่อสาร2ทางไปยังบุคลากรผู้รับบริการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การตอบคำถาม1.1ก • HOW • 2การกำหนดนโยบายกระตุ้น 7ประเด็น • กระจายอำนาจ • นวัตกรรม • ความคล่องตัว • การเรียนรู้ • ทำถูกกฏหมาย • ทำตามหลักจริยธรรม
การตอบคำถาม1.1ข • HOW • 3การกำกับดูแลตนเองที่ดี • ด้านการปฏิบัติงาน • ด้านการเงินป้องกันทุจริต • ด้านปกป้องประโยชน์ประเทศและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การตอบคำถาม1.1ค • HOW • 4.1การทบทวนผลดำเนินการ • 4.2การใช้ผลประเมินเพื่อ • เพื่อดูการบรรลุเป้าหมาย • เพื่อประเมินการตอบสนองการเปลี่ยนแปลง
การตอบคำถาม1.1ค • WHAT • ตัวชี้วัดสำคัญ • 5.1ตัวชี้วัด • 5.2ผลการทบทวนที่ผ่านมา
การตอบคำถาม1.1ค • HOW • 6การใช้ผลการทบทวนเพื่อ • เพื่อจัดลำดับความสำคัญ • เพื่อการปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร
การตอบคำถาม1.1ค • HOW • 7.1การประเมินผลงานผู้บริหาร • 7.2การนำผลประเมินไปปรับระบบการนำองค์กร
การตอบคำถาม1.2ก • HOW • 8การดำเนินการต่องานที่มีผลกระทบทางลบ • ต่อสังคม
การตอบคำถาม1.2ก WHAT การจัดการผลกระทบ 9.1กระบวนการ 9.2เป้าประสงค์ 9.3ตัวชี้วัด 9.4เป้าหมายในการจัดการผลกระทบ
การตอบคำถาม1.2ก • HOW • 10.1การคาดการณ์ผลกระทบทางลบ • 10.2การเตรียมการเชิงรุกต่อผลกระทบ
การตอบคำถาม1.2ข • HOW • 11การกำหนดวิธีปฏิบัติให้ทำอย่างมีจริยธรรม